การกำหนดทางเลือกและ ตัดสินนโยบาย วิชา นโยบายสาธารณะ เบื้องต้น (SS3403) พ. อ. หญิง อโณมา คง ตะแบก
หนังสืออ่านประกอบ สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ นโยบายสาธารณะ แนวความคิด การวิเคราะห์ และกระบวนการ บทที่ 8 ( )
การกำหนดทางเลือกและการ ตัดสินใจนโยบาย การก่อรูป นโยบาย การ พัฒนา ทางเลือ ก นโยบา ยเพื่อ นำเสน อ ทางเลือ กที่ เหมาะส ม การ ตัดสินใ จเลือก ทางเลือ ก นโยบา ย การนำ นโยบา ยไป ปฏิบัติ
คุณลักษณะสำคัญของทางเลือก นโยบาย การสร้างสรรค์ (creativity) นวัตกรรม (innovation) การนำสิ่งใหม่ไปกระทำให้ปรากฎ จริง การนำสิ่งใหม่ไปสู่การ ใช้ประโยชน์ สร้าง ดาวเทียม การใช้ดาวเทียม เพื่อการศึกษา ทางไกล ต้องมีจินตนาการ (imagination) และ ความ เป็นศิลป์ (arts)
การเกิด เป็นปัญหา สาธารณะ ค่านิยม ผลประโยช น์
ฉนัไม่อายกจะเชอื่เลยว่า ฉนัเข้าใจสงิ่ที่ฉนักำล งัอาน่อู่ยนี้ มนัเปน็ปฎกราากรณ์ ของคาวมคดิของม์ษุยน ผลการศกึาษวจิยัจาก มวหายิทัาลย แบมคิร์จด ก่าลวว่า
มนัไม่สคำญเลยว่าตวัอรัษก เยีรงถตอ้กูงหรอืไม่ในคำคำ หนงึ่ มนัสคำญแค่ว่า ตวัอษักรแรก และตวัอษกัรตวัสดุทาย้ของ คำ นนั้อู่ยในตนำแห่งที่ถกูตอ้ง ที่ เลืหอนนั้มนัจะมวั่ซวั่อ่ายงไร คณุก็อาน่มนัได้อู่ยดี ไม่ มีปหญัา
ที่เปน็อาย่งนี้เราพะคาวมคดิ ของมษุน์ยนนั้ ไม่ได้อาน่ตวัอษกัรท กุตวัซกัหอน่ย แต่อาน่เปน็คำเตม็ ๆ คำ สดุยอดเลยใช่มยั้ล่ะ... ใช่เลย แต่ยงัไงฉนัก็คดิว่าการสกะ ดมนัสคำญันะ
คำถาม ถ้ามีพื้นที่ใจกลาง กรุงเทพฯ ประมาณ ๕ ไร่ ถ้ามีความขัดแย้งทาง ความคิดว่าควรสร้าง สวนสาธารณะหรือสร้างที่ จอดรถ นนร. คิดอย่างไร และควรดำเนินการอย่างไร
กรณีที่น้ำท่วม กรุงเทพฯ เนื่องจาก แม่น้ำล้นตลิ่งท่วม บ้านเรือนประชาชน เป็นประจำทุกปี นนร. คิดว่า กทม. ควรทำ อย่างไร
การแสวงหา ทางเลือกนโยบาย พิจารณาทางเลือกระหว่างทางเลือกที่ควร กระทำและไม่ควรกระทำ พิจารณา ทางเลือกที่ เหมาะสม สอดคล้อง กับปัญหา - ปัญหาคนว่างงาน - ปัญหาแรงงานต่างด้าวที่ผิด กฎหมาย - ปัญหาการจราจร - ปัญหาน้ำท่วม
Go al นโยบ าย ทางเลือกต้องสอดคล้องกับ เป้าประสงค์ ควรต้องมีความสร้างสรรค์ มีความเหมาะสมภายใต้ สภาวะแวดล้อม สามารถจัดลำดับ ความสำคัญของทางเลือกได้
การกลั่นกรองทางเลือก นโยบาย มีความเป็นไปได้ ในทางปฏิบัติ สอดคล้องกับ ทรัพยากรที่ต้องใช้ สอดคล้องกับ ค่านิยมของสังคม สอดคล้องกับ เป้าประสงค์ สามารถตอบสนองกับ สาธารณชน การประเมินผลกระทบของทางเลือก
การตรวจสอบทางเลือก นโยบาย พิจารณาความเป็นไปได้ ทั้ง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และ เทคโนโลยี ใช้เทคนิคต่างๆ ในการ วิเคราะห์ เช่น ทฤษฎีการตัดสินใจเลือก นโยบาย ตัวแบบการตัดสินใจเชิงเหตุผล (rational comprehensive decision making) ตัวแบบการตัดสินใจแบบส่วนเพิ่ม (incremental theory)
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ เลือกนโยบาย 1. ค่านิยม (values) ค่านิยมของ องค์การ ค่านิยมของ วิชาชีพ ค่านิยมส่วน บุคคล ค่านิยมด้าน นโยบาย ค่านิยมด้าน อุดมการณ์ 2. ความสัมพันธ์กับพรรค การเมือง 3. ผลประโยชน์ของ ประชาชนในเขตเลือกตั้ง 4. มติมหาชน 5. ประโยชน์ของ มหาชน