Contribute “Stay strong not stand alone”
อ.ที่ปรึกษา อ.ดร.เขมกร ไชยประสิทธ์ บุคลากร พี่เดียร์ สโรชินี ศิลปานันทกุล ภาคการเงิน นุก น.ส.มณีรัตน์ ชัยแขม เตย น.ส.ภาสินี อินทโสตถิ กุกกิก น.ส.มธุรส ปินใจ มาย น.ส.มนัสวี บางชะวงษ์ สร้าง นาย วัชรากร เอื้อกุศลสมบูรณ์ บอส นาย ศุภฤกษ์ ม่วงเลี่ยม ดราฟท์ นาย สิทธิ โชค ถิ่นหัวเสือ
1.การค้นหาปัญหา และ การคัดเลือกหัวข้อ หัวข้อปัญหาความถี่ ของการ เกิด ปัญหา ความเป็นไป ได้ในการ แก้ปัญหา ประโยชน์ ของการ แก้ปัญหา รวม 1.นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม road show น้อย การจอดรถจักรยานยนต์ไม่ เป็นระเบียบ การจัดเก็บเอกสารไม่ เพียงพอบนภาควิชาการเงิน 3339 คะแนน 5=มากที่สุด 4=มาก 3=ปานกลาง 2=น้อย 1=น้อยที่สุด
หัวข้อที่ได้รับเลือกคือหัวข้อที่ได้รับเลือกคือ การลดปัญหาการจัดเก็บเอกสารไม่เพียงพอการลดปัญหาการจัดเก็บเอกสารไม่เพียงพอ
2.การสำรวจสภาพปัจจุบันและตั้งเป้าหมาย
3.การวางแผนดำเนินกิจกรรม ช่วงวางแผน (P) -หัวข้อปัญหาที่สนใจ -หาแนวทางในการแก้ปัญหา เบื้องต้น -หาสาเหตุของปัญหา ช่วงแก้ปัญหา (D) -ดูสถานที่ที่ใช้จัดเก็บเอกสาร -ดูปริมาณเอกสาร -แก้ไขและแบ่งประเภทเอกสาร ตามที่วางแผนไว้ ตรวจสอบ (C) -ตรวจความถูกต้องของประเภท เอกสาร -ความสะดวกในการนำเอกสารมาใช้ -ประโยชน์ใช้สอยของพื้นที่ ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด แก้ไขปรับปรุง (A) -นำสิ่งที่ผิดพลาดจากการตรวจสอบ มาแก้ไข -ตรวจสอบในการแก้ไข การปรับปรุง ซ้ำ เพื่อตั้งมาตรฐานในการทำงาน
3.การวางแผนดำเนินกิจกรรม QCC 7 Steps สิงหาคมกันยายนตุลาคมพฤศจิกายน ค้นหาปัญหา (P) 2.ตั้งเป้าหมาย (P) 3.วางแผนทำงาน (P) 4.วิเคราะห์สาเหตุ (P) 5.นำไปปฏิบัติ (D) 6.ติดตามผล (C) 7.การทำเป็นมาตรฐาน (A)
4.การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
ปัญหา การจัดเก็บ เอกสารไม่ เพียงพอ มีการเปลี่ยนแปลงบุคลากร ความรู้ด้านการจัดเก็บ เอกสาร การประสานงานของ บุคคลภายในภาค มีงานอื่นที่ต้องรับผิดชอบ ไม่มีเวลาจัดการเอกสาร บุคคลากร อายุของเอกสารที่ต้องจัดเก็บ ปริมาณเอกสารมาก ประเภทของเอกสาร เอกสาร อื่นๆ สถานที่ มีงานอื่นเข้ามาแทรก เช่น QCC, กิจกรรมคณะ พื้นที่จำกัด อุปกรณ์ในการจัดเก็บ
5.การกำหนดมาตรฐานการแก้ปัญหาและการปฏิบัติ
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1.นับจำนวนเอกสารที่ต้องคำนวณ 2. คัดแยกเอกสารโดยแบ่งเป็น3กลุ่ม คือ - Active - Non-Active - Recycle 3. นับจำนวนเอกสารหลังถูกคัดแยก 4. นำเอกสารที่ Non-active, Recycle ไปไว้ในอีกที่หนึ่ง(อาจเป็นตู้ เก็บเอกสาร) ซึ่งไม่รวมกับActive เอกสารActiveต้องอยู่ในที่ที่ สามารถใช้งานได้สะดวก 1.นับจำนวนเอกสารที่ต้องคำนวณ 2. คัดแยกเอกสารโดยแบ่งเป็น3กลุ่ม คือ - Active - Non-Active - Recycle 3. นับจำนวนเอกสารหลังถูกคัดแยก 4. นำเอกสารที่ Non-active, Recycle ไปไว้ในอีกที่หนึ่ง(อาจเป็นตู้ เก็บเอกสาร) ซึ่งไม่รวมกับActive เอกสารActiveต้องอยู่ในที่ที่ สามารถใช้งานได้สะดวก
6.การตรวจสอบผล ชนิดเอกสารปริมาณ ( ก่อนจัด ) ปริมาณ ( หลังจัด ) 1. Active Document Non-Active Document Recycle
การกำหนดมาตรฐานปฏิบัติงาน
Annual Cost Saving กรณีนำเอกสารที่ไม่ได้ใช้ไปขาย จำนวนราคา/แผ่น (บาท)เงินที่ประหยัดได้ (บาท) กรณีนำเอกสารที่ไม่ได้ใช้กลับมาใช้ใหม่ จำนวนราคา/แผ่น (บาท)เงินที่ประหยัดได้ (บาท)
สรุป ข้อดี 1. มีมาตรฐานในการจัดเก็บเอกสารมากขึ้น 2. การทำงานเกี่ยวกับเอกสารมีความสะดวกมากขึ้น 3. นักศึกษาได้ความรู้เรื่องQCCและการคิด วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ปัญหาและอุปสรรค 1. เวลาในการเข้าไปจัดการเอกสารน้อย 2. ปัญหาการเลือกหัวข้อ 3. เอกสารบางอย่างเป็นความลับไม่สามารถเข้าถึงโดยบุคคลที่ไม่ เกี่ยวข้องได้ ข้อดี 1. มีมาตรฐานในการจัดเก็บเอกสารมากขึ้น 2. การทำงานเกี่ยวกับเอกสารมีความสะดวกมากขึ้น 3. นักศึกษาได้ความรู้เรื่องQCCและการคิด วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ปัญหาและอุปสรรค 1. เวลาในการเข้าไปจัดการเอกสารน้อย 2. ปัญหาการเลือกหัวข้อ 3. เอกสารบางอย่างเป็นความลับไม่สามารถเข้าถึงโดยบุคคลที่ไม่ เกี่ยวข้องได้