แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค. 2558.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Burden of Disease Thailand, 2009
Advertisements

การพยากรณ์โรคความดันโลหิตสูง
อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ปี พ.ศ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคไม่ติดต่อ
สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนา หลักประกันสุขภาพไทย Health Insurance System Research Office Social Protection Floor: Situation and Way Forward Thaworn Sakunphanit.
ตำบลจัดการสุขภาพ5กลุ่มวัยแบบบูรณาการ
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
การบริหารจัดการข้อมูลความเสี่ยงด้านสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ตามรอยครู :
ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
Hospital Presentation นพ.ชัยวัฒน์ พงศ์ทวีบุญ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล
โครงการ PrEP PACKAGE ปี 2561
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
โครงการสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System) เขตเมืองและเขตชนบท ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย เลขาธิการ.
“สถานการณ์และระบาดวิทยา โรคไม่ติดต่อในประเทศไทย ”
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดมุกดาหาร
สถานการณ์ของโรคไข้หวัดใหญ่ในปี ๒๕๕๘
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
การประเมินความจำเป็นด้านสุขภาพ Health Needs Assessment - HNA
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
หน่วยการเรียนที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูล
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
การดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิง
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
สถานการณ์วัณโรค จังหวัดมหาสารคาม
HDC CVD Risk.
พ.ญ.เสาวลักษณ์ ชาวโพนทอง อายุรแพทย์โรคไต โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
นโยบายการดำเนินงาน PrEP กับการยุติปัญหาเอดส์
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
การส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ (Workplace Health Promotion)
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
สิ่งที่พูดถึง การดำเนินงานกลุ่มวัยทำงาน DM HT DPAC องค์กรไร้พุง
Burden of Diseases (BOD) Disability Adjusted Life Years(DALY)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การประเมิน RF 4.1 โรคไม่ติดต่อรอบ 2
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
สถานการณ์ นโยบาย และการดำเนินงาน
นโยบาย การป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
Happy work place index & Happy work life index
สร้างเครือข่ายในชุมชน
พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล Ph.D. สุภาภรณ์ ตันตินันทตระกูล Ph.D.
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
แผนการดำเนินงาน คปสอ. (DPAC)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
การรายงานผลการดำเนินงาน
รวมทั้งสิ้น (ล้านบาท)
เป็นปัญหาสาธารณสุข อันดับ ๓ ของจังหวัด
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2562 ตุลาคม 2561 – มิถุนายน 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค. 2558

Top 10 causes of death by age group:2009 Source : Burden of disease in Thailand 2009, BOD working group

สาเหตุความสูญเสียปีสุขภาวะของประชากรไทย พ.ศ. 2552, ชาย (ร้อยละ) กลุ่มอายุ ปี กลุ่มอายุ ปี 1 เสพติดเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล์ อุบัติเหตุทางถนน โรคจิตเภท7.0 4 การถุกทำร้าย5.7 5 ติดเชื้อ HIV4.7 6 โรคหอบหืด3.6 7 การทำร้ายตนเอง3.0 8 โรคซึมเศร้า2.1 9 การจมน้ำ โรคหลอดเลือดสมอง1.5 1 เสพติดเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล์ อุบัติเหตุทางถนน8.2 3 ติดเชื้อ HIV8.1 4 โรคหลอดเลือดสมอง6.3 5 โรคมะเร็งตับ5.8 6 ภาวะตับแข็ง4.9 7 โรคหัวใจขาดเลือด4.6 8 โรคเบาหวาน3.8 9 โรคซึมเศร้า2.8 10การทำร้ายตนเอง2.4

สาเหตุความสูญเสียปีสุขภาวะของประชากรไทย พ.ศ. 2552, หญิง (ร้อยละ) อายุ ปี อายุ ปี 1 อุบัติเหตุทางถนน ติดเชื้อ HIV9.4 3 โรคซึมเศร้า8.3 4 โรคหอบหืด7.0 5 โรคโลหิตจาง5.7 6 เสพติดเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล์ โรควิตกกังวล4.6 8 โรคจิตเภท4.0 9 โรคหลอดเลือดสมอง โรคลมชัก2.5 1 โรคเบาหวาน8.9 2 โรคซึมเศร้า7.7 3โรคหลอดเลือดสมอง6.5 4 ติดเชื้อ HIV6.1 5 โรคข้อเสื่อม5.1 6 โรคมะเร็งปากมดลูก/มดลูก3.5 7 อุบัติเหตุทางถนน3.3 8 โรคมะเร็งเต้านม3.2 9 โรคมะเร็งตับ3.2 10โรคโลหิตจาง2.8

A Global Brief on HT,World Health Day 2013

พฤติกรรม สุขภาพ คนวัยทำงาน

กฎ นโยบายสุขภาพที่ดี ต่อสุขภาพ (Healthy Policies) สิ่งแวดล้อมดี / เอื้อ สุขภาพ (Healthy Environments) พฤติกรรมสุขภาพ (Healthy Behaviors) สุขภาพดี (Healthy People) สถานที่ที่คน อยู่ อาศัย ทำงาน และ เล่น (Live, Work, and Play) มีผลต่อสุขภาพ

จังหวัดที่มีอัตราตายด้วยโรคหัวใจขาดเลือดสูง(IHD) ใน 15 จังหวัดแรกใน ปีพ.ศ ภาพรวมประเทศ 26.9

เป้าหมาย : ลดและชะลออัตราการป่วยและอัตราตายด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด กลุ่มเป้าหมาย 15 จังหวัด ชุมชน สถานบริการ เครือข่าย/องค์กรหัวใจดี -การสื่อสารเตือนภัย รณรงค์ เพื่อสร้าง ความตระหนักโรค CVD ผ่านช่องทาง ต่างๆ เช่น สื่อท้องถิ่น สื่อบุคคล -การสร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการมี สุขภาพดี เช่น สถานที่ออกกำลังกาย ผ่าน ตำบลจัดการสุขภาพ - สังเกตสัญญาณเตือนของโรคหัวใจขาด เลือดและโรคหลอดเลือดสมอง ในกลุ่มเสี่ยงสูง - การติดตามเยี่ยมบ้านโดย จนท.สธ. ร่วมกับ อสม. (ในกลุ่มเสี่ยงสูง) - ประเมิน CVD Risk ใน ผู้ป่วย DM HT - การจัดบริการตามความเสี่ยง  ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามความ เสี่ยงแบบเข้มข้นหรือแบบรีบด่วน  การดูแล รักษาตามกลุ่มเสี่ยง และให้ยาตามข้อบ่งชี้ - รายงานผลการดำเนินงาน -ค้นหากลุ่มเสี่ยง*ในองค์กร -จัดกิจกรรมลดเสี่ยง ในองค์กร -รายงานผลการดำเนินงาน/สรุปผล รายงานการดำเนินงานฯ *กลุ่มเสี่ยง คือ กลุ่มที่มีปัจจัยเสี่ยง -BMI≥25 -รอบเอว ช. >90 cm ญ. >80 cm - pre DM, - pre HT, - ไขมันสูง - สูบบุหรี่ สิ่งสนับสนุน 1. สนับสนุนคู่มือและโปสเตอร์การประเมิน CVD risk ในผู้ป่วย DM/HT 2. สนับสนุนโปรแกรม/อบรมการใช้โปรแกรมคัดกรอง CVD risk 3. สนับสนุนคู่มือให้เกิดการจัดการตนเองของกลุ่มเสี่ยงต่อ CVD สำหรับ อสม. 1. สนับสนุนคู่มือดำเนินงานองค์กรหัวใจดี ให้กับผู้ประสานงานหลักของ สคร./สสจ./ เทศบาล 2. การประชุมชี้แจงผู้รับผิดชอบหลักของ เทศบาลและ สสจ. ใน 15 เทศบาล 3. จัดอบรมให้ความรู้กับกลุ่มเสี่ยง*ใน 15 เทศบาลและชุดเครื่องมือสนับสนุนกลุ่ม เสี่ยงในการดำเนินงานองค์กรหัวใจดี 4. แบบรายงานผลการดำเนินงาน กรอบการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) ประจำปีงบประมาณ 2559 บทบาทส่วนกลาง บทบาทพื้นที่

14 องค์กรหัวใจดี ดำเนินกิจกรรมการป้องกัน ควบคุมโรคหัวใจและหลอด เลือดในองค์กร รวมทั้งการ ปรับ คนในองค์กรลด พฤติกรรมเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยงต่อการ เกิดโรคหัวใจและ หลอดเลือด นโยบายด้านสุขภาพ ให้เกิด สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมี สุขภาพดี องค์กรต้นแบบด้าน สุขภาพดี ด้านโรคไม่ ติดต่อ(หัวใจและหลอด เลือด) ผลผลิตขององค์กร ไม่ลดลง

15 กรอบการดำเนินงานองค์กรหัวใจดีของเทศบาล สุขภาพดี ประเมินภาวะสุขภาพ ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ชมรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มเป้าห มายจาก สำรวจ ข้อมูล สุขภาพ อบรมให้ความรู้ ทักษะการปฏิบัติ ตัวลดเสี่ยง กิจกรรม ประเมินผ ล BMI / รอบ เอวเกิน, บุหรี่ pre DM, pre HT, ไขมันสูง BMI / รอบ เอวเกิน, บุหรี่ pre DM, pre HT, ไขมันสูง สื่อสาร รณรงค์ สื่อสาร รณรงค์ ประเมินผลการดำเนินตาม กระบวนการดำเนินงานใน องค์กรหัวใจดี

16 กระบวนการดำเนินงานในองค์กรหัวใจดี เพื่อสุขภาพที่ดีของทุกคนในองค์กร กระบวนการดำเนินงานในองค์กรหัวใจดี เพื่อสุขภาพที่ดีของทุกคนในองค์กร พันธะ สัญญาของ ผู้นำ จริยธรรม และ คุณธรรม การมีส่วน ร่วมของ บุคลากร 1. รวมพล / ระดมคน 2. จัดตั้ง แกนนำ / คณะทำงาน 3. ประเมิน สถานการณ์ 4. จัดลำดับ ความสำคัญ 5. วางแผน 8. ปรับปรุง แก้ไข ต่อยอด 8. ปรับปรุง แก้ไข ต่อยอด 7. ประเมินผ ล 6. ดำเนินก าร 3 อ.2 ส. ประเมิน ภาวะ สุขภาพ พฤติกรร ม สิ่งแวดล้อ ม อื่นๆ สื่อสาร นโยบาย แผนปฏิบัติ การ

ดำเนินงานสำหรับกลุ่มเสี่ยงในองค์กร การประเมินภาวะสุขภาพ ทุก 4 เดือน : น้ำหนัก, รอบเอว, ค่าดัชนี มวลกาย, ค่าความดันโลหิต, พฤติกรรมสุขภาพ ได้แก่ การบริโภค อาหารหวาน มัน เค็ม การออก กำลังกาย ภาวะเครียด การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา กลุ่มเสี่ยง อบรมให้ ความรู้ทักษะ การปฏิบัติตัว ลดเสี่ยง 30 คน/เทศบาล BMI/ รอบ เอวเกิน, บุหรี่ pre DM, pre HT, ไขมันสูง BMI/ รอบ เอวเกิน, บุหรี่ pre DM, pre HT, ไขมันสูง บันทึกการ ปฏิบัติตัวลด เสี่ยง (ชุด เครื่องมือ)

แผนปฏิบัติการองค์กรหัวใจดี กิจกรรมไตรมาสที่ 1ไตรมาสที่ 2ไตรมาสที่ 3ไตรมาสที่ 4 ต.ค.พ.ย.ธ.ค.ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย. 1.ระดมคน/รวมพล เพื่อกำหนด นโยบายด้านการส่งเสริม สุขภาพและสิ่งแวดล้อม 2.การจัดตั้งคณะทำงานองค์กร หัวใจดี 3.ประเมินสถานการณ์ปัญหา สุขภาพ/จัดลำดับความสำคัญ ของปัญหาและสำรวจความ ต้องการในประเด็นและกิจกรรม ต่างๆของบุคลากร 4.วางแผน/พัฒนาแผน ปรับ แผนการดำเนินโครงการ/ กิจกรรม/ให้สอดคล้องกับ ปัญหา 5.การจัดกิจกรรมลดเสี่ยง โรคหัวใจ 6.ติดตามประเมินผลการ ดำเนินงาน 7.ทบทวน สรุปผลการดำเนินงาน

19 ชุดเครื่องมือสนับสนุนการดำเนินงานองค์กรหัวใจดี ชุดเครื่องมือสำหรับกลุ่มเสี่ยง ชุดเครื่องมือสำหรับบุคลากรสาธารณสุข

20 การติดตามและประเมินผล -ติดตามผลการดำเนินตามกระบวนการดำเนินงานในองค์กรหัวใจดี -รายงานผลการดำเนินงานทุก 4 เดือน ผ่าน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ในพื้นที่ รายละเอียดตามเอกสารหมายเลข 3 แบบติดตามความก้าวหน้า การดำเนินงานองค์กรหัวใจดี - น้ำหนัก - รอบเอว - ค่าดัชนีมวลกาย - ค่าความดันโลหิต - พฤติกรรมสุขภาพ ได้แก่ การบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม การ ออกกำลังกาย ภาวะเครียด การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา -ประเมินความรู้ก่อนและหลังอบรม -ประเมินความพึงพอใจก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการ -ติดตามผลการดำเนินตามกระบวนการดำเนินงานในองค์กรหัวใจดี -รายงานผลการดำเนินงานทุก 4 เดือน ผ่าน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ในพื้นที่ รายละเอียดตามเอกสารหมายเลข 3 แบบติดตามความก้าวหน้า การดำเนินงานองค์กรหัวใจดี - น้ำหนัก - รอบเอว - ค่าดัชนีมวลกาย - ค่าความดันโลหิต - พฤติกรรมสุขภาพ ได้แก่ การบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม การ ออกกำลังกาย ภาวะเครียด การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา -ประเมินความรู้ก่อนและหลังอบรม -ประเมินความพึงพอใจก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการ

บทบาทหน้าที่ผู้ประสานงานองค์กรหัวใจดี สคร./ศูนย์วิชาการ *ร่วมเป็นพี่เลี้ยงให้ คำปรึกษาด้านการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตาม หลัก 3อ.2ส. *ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ แก่กลุ่มเสี่ยงร่วมกับ ส่วนกลาง *ร่วมติดตามประเมินผลและ ให้กำลังใจแก่ทศบาล ร่วมกับส่วนกลางสคร./ศูนย์วิชาการ *ร่วมเป็นพี่เลี้ยงให้ คำปรึกษาด้านการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตาม หลัก 3อ.2ส. *ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ แก่กลุ่มเสี่ยงร่วมกับ ส่วนกลาง *ร่วมติดตามประเมินผลและ ให้กำลังใจแก่ทศบาล ร่วมกับส่วนกลาง สสจ. *เป็นผู้ประสานงานระหว่าง ส่วนกลางและเทศบาล *คัดเลือกเทศบาลนครหรือ เทศบาลเมืองเข้าร่วมโครงการ 1 แห่ง *ร่วมเป็นพี่เลี้ยงให้คำปรึกษา ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3อ.2ส. *ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้แก่ กลุ่มเสี่ยงร่วมกับส่วนกลาง *ติดตามผลการดำเนินงานทุก 3 เดือน *ร่วมติดตามประเมินผลและให้ กำลังใจแก่เทศบาลร่วมกับ ส่วนกลางสสจ. *เป็นผู้ประสานงานระหว่าง ส่วนกลางและเทศบาล *คัดเลือกเทศบาลนครหรือ เทศบาลเมืองเข้าร่วมโครงการ 1 แห่ง *ร่วมเป็นพี่เลี้ยงให้คำปรึกษา ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3อ.2ส. *ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้แก่ กลุ่มเสี่ยงร่วมกับส่วนกลาง *ติดตามผลการดำเนินงานทุก 3 เดือน *ร่วมติดตามประเมินผลและให้ กำลังใจแก่เทศบาลร่วมกับ ส่วนกลางเทศบาล *จัดให้มีผู้ประสานหรือ เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลด้านสุขภาพ และสาธารณสุขในเทศบาล * สนับสนุนข้อมูลให้ผู้บริหาร ของเทศบาลเพื่อให้นโยบาย แก่บุคลากรในองค์กรและ สนับสนุนการดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี * ดำเนินการตามกระบวนการ ดำเนินงานองค์กรหัวใจดี * รายงานผลการดำเนินงาน ทุก 4 เดือน (เมย.59,. สค.59) ตามเอกสาร หมายเลข 3 เทศบาล *จัดให้มีผู้ประสานหรือ เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลด้านสุขภาพ และสาธารณสุขในเทศบาล * สนับสนุนข้อมูลให้ผู้บริหาร ของเทศบาลเพื่อให้นโยบาย แก่บุคลากรในองค์กรและ สนับสนุนการดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี * ดำเนินการตามกระบวนการ ดำเนินงานองค์กรหัวใจดี * รายงานผลการดำเนินงาน ทุก 4 เดือน (เมย.59,. สค.59) ตามเอกสาร หมายเลข 3

ขอบคุณค่ะ

หมายเหตุ : ข้อมูลปี 2558 แสดงตัวเลขเป็นปีงบประมาณ ต.ค.57 – ก.ย. 58 ที่มา : ข้อมูลมรณบัตร สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข เป้าหมาย : ลดอัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ร้อยละ 10 ในระยะ 5 ปี (2557 – 2562)