งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ชนิดของข้อมูล ลัทธพร วังทองหลาง 54620810 ดารณี ทิพย์สิงห์ 54620813.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ชนิดของข้อมูล ลัทธพร วังทองหลาง 54620810 ดารณี ทิพย์สิงห์ 54620813."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ชนิดของข้อมูล ลัทธพร วังทองหลาง ดารณี ทิพย์สิงห์

2 การวิจัยเชิงประจักษ์
(Empirical Research) เป็นการวิจัยที่ใช้ข้อมูลจากแหล่งปฐมภูมิ โดยมีการเก็บข้อมูล และใช้สถิติในการวิเคราะห์ การวิจัยเชิงวิพากษ์วิจารณ์ (Nonempirical Research) เป็นการวิจัยที่อาศัยข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิ เป็นการวิจัยที่หาความรู้ความจริงจาก ข้อมูลเอกสาร หนังสือ ตำรา และวรรณกรรม ไม่ใช้สถิติมาวิเคราะห์ มักใช้การวิพากษ์วิจารณ์แทน

3 ข้อมูลปฐมภูมิ สถิติ วิเคราะห์
ข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องเก็บรวบรวมจากแหล่งที่มาของข้อมูลโดยตรง ซึ่งอาจทำได้โดยการสัมภาษณ์ สอบถาม การแจงนับ การวัด การทดลอง ข้อมูลประเภทนี้เป็นข้อมูลที่ยังไม่เคยมีผู้ใดเก็บรวบรวมไว้ก่อน สถิติ วิเคราะห์ ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม เช่น จำนวนผู้ประสบอุบัติเหตุบนท้องถนน อัตราการเกิดของเด็กทารก ปริมาณน้ำฝน ในแต่ละปี เป็นต้น สถิติในความหมายที่ กล่าวมานี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ข้อมูลทาง สถิติ(Statistical data) แยกออกเป็นส่วนๆเพื่อศึกษาให้ถ่องแท้ ทำให้มองเห็นว่าสิ่งที่ศึกษานั้นมีลักษณะ ที่แท้จริงเป็นอย่างไร เกิดจากสาเหตุใด และจะดำเนินต่อไปในลักษณะใด จะเกิด ผลอย่างใดด้วยเหตุผลตามความเป็นจริง

4 ข้อมูลทุติยภูมิ เป็นข้อมูลที่หน่วยงานหรือผู้อื่นเก็บไว้ก่อนแล้ว เพื่อการวางแผนหรือการบริหาร หรือเพื่อจุดประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง และมีบุคคลหรือหน่วยงานนำข้อมูลที่มีอยู่ นั้นมาใช้เพื่อจุดประสงค์ ซึ่งไม่ต้องเสียเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่ และ ประหยัดค่าใช้จ่าย แหล่งที่มาของข้อมูลทุติยภูมิที่สำคัญ มีดังนี้ (1) รายงานต่าง ๆ ของหน่วยงานราชการและองค์การของรัฐบาล ข้อมูลที่ได้จากราย งานต่าง ๆของหน่วยงานราชการหรือองค์การต่าง ๆ ของรัฐบาลนี้ถือว่าเป็นที่มาของ ข้อมูลทุติยภูมิที่สำคัญที่สุด (2) รายงานและบทความจากหนังสือ หรือรายงานจากหน่วยงานเอกชน โดยเฉพาะ หน่วยงานใหญ่ ๆ จะพิมพ์รายงานเกี่ยวกับผลการดำเนินงานของ ตนเองออกเผยแพร่ เช่นเดียวกับหน่วยงานราชการ เช่น รายงานประจำปีของธนาคารพาณิชย์

5 วิพากษ์ แปลว่า ตัดสิน คำว่า วิพากษ์ เป็นคำที่นักวิจารณ์วรรณคดีนำมาใช้ในการพิจารณา ให้ข้อคิดเกี่ยวกับวรรณคดี บทความ ความเห็นของบุคคลในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือเกี่ยว กับสิ่งที่เกิดขึ้นในสังคม เช่น หนังสือเรื่องวิพากษ์ภาษาไทย วิจารณ์ หมายถึงการให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ว่า มีสาระเนื้อหา อย่างไร มีสิ่งใดถูกต้องน่าชม มีสิ่งใดควรปรับปรุงแก้ไข หรือมีสิ่งใดไม่ถูกต้องเพราะ เหตุใด เช่น การวิจารณ์หนังสือ การวิจารณ์วรรณกรรม การวิจารณ์อาจเสนอข้อคิด เห็นที่มิใช่การติหรือชมก็ได้ เช่น การวิจารณ์ข่าว ที่มา :


ดาวน์โหลด ppt ชนิดของข้อมูล ลัทธพร วังทองหลาง 54620810 ดารณี ทิพย์สิงห์ 54620813.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google