งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รักษ์หัวใจในที่ทำงาน หัวใจ & บุหรี่ ผศ. นพ. สุทัศน์ รุ่งเรือง หิรัญญา, FCCP หน่วยโรคทางเดินหายใจและเวชบำบัดวิกฤตภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มศว.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รักษ์หัวใจในที่ทำงาน หัวใจ & บุหรี่ ผศ. นพ. สุทัศน์ รุ่งเรือง หิรัญญา, FCCP หน่วยโรคทางเดินหายใจและเวชบำบัดวิกฤตภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มศว."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รักษ์หัวใจในที่ทำงาน หัวใจ & บุหรี่ ผศ. นพ. สุทัศน์ รุ่งเรือง หิรัญญา, FCCP หน่วยโรคทางเดินหายใจและเวชบำบัดวิกฤตภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มศว.

2

3 คุณมี “ หัวใจ ” กันคนละ กี่ดวง ?

4 โรคหัวใจ... อยู่ใกล้คนไทย มากขึ้นเรื่อยๆ คนไทยตายจากหัวใจ ขาดเลือด เพิ่มขึ้น เรื่อยๆ ปี 2542 =7.9 ต่อ แสนราย ปี 2542 =7.9 ต่อ แสนราย ปี 2551 = 21.2 ต่อ แสนราย ปี 2551 = 21.2 ต่อ แสนราย คนไทยตายจากหัวใจ ขาดเลือด เพิ่มขึ้น เรื่อยๆ ปี 2542 =7.9 ต่อ แสนราย ปี 2542 =7.9 ต่อ แสนราย ปี 2551 = 21.2 ต่อ แสนราย ปี 2551 = 21.2 ต่อ แสนราย ทุกชั่วโมง คน ไทยตายจาก โรคนี้ 4 คนหรือ วันละ 96 คน และมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น

5 สาเหตุของโรคหัวใจสาเหตุของโรคหัวใจ เบาหว าน ความดัน โลหิตสูง สูบบุหรี่ อ้วนลง พุง

6 บุหรี่บุหรี่

7 บุหรี่... เพิ่มความเสี่ยงต่อโรค หลอดเลือดหัวใจ ความเสี่ยง (95% CI) a 109 8 7 6 5 4 3 2 1 0 Age <40 y Age 40-49 y Age 50-59 y Age 60-69 y Age >70 y  20 NonsmokersEx-smokers1-19 a.Teo. Lancet. 2006;368:647-658. การสูบบุหรี่เพิ่ม ความเสี่ยง ใน การเกิดโรคนี้ อย่างน้อย 3 เท่า

8 บุหรี่ มีผลต่อ โรคหลอด เลือดหัวใจ a The probability of an event (developing a disease) occurring in exposed people compared with the probability of the event in nonexposed people. Adjusted for age. Willett et al. N Engl J Med. 1987;317(21):1303-1309. ความเสี่ยง 1-14 / วัน ไม่สูบเลย 15-24 / วัน  25 / วัน Cigarettes/Day ยิ่งสูบมาก ความเสี่ยง ยิ่งมาก ยิ่งสูบมาก

9 บุหรี่ มีผลต่อทั้งรอยโรคเก่า และใหม่ Progression of Existing Lesions Formation of New Lesions Waters et al. Circulation. 1996;94:614-621. Patients (%) P=.002 P=.007 57 37 36 20

10 บุหรี่ เพิ่มความเสี่ยงต่อการ ตายจากโรคหัวใจขาดเลือด a The probability of an event (developing a disease) occurring in exposed people compared with the probability of the event in nonexposed people. Adjusted for age. Wannamethee et al. Circulation. 1995;91:1749-1756. Relative Risk (95% CI) a

11 กลไกการตีบของหลอด เลือด

12 บุหรี่ ทำให้หลอดเลือดหัวใจ ตีบได้อย่างไร Endothelial dysfunction ↑thrombogenicity ↑inflammatory response ↑oxidative modification

13 Endothelial Dysfunction Flow-Dependent Dilation (%) 0 20 30 40 60 50 10 –10 P<.01 P<.001 P<.01 Current Smokers P<.01 Nonsmokers P<.01  Flow-dependent dilation was significantly blunted in current smokers compared with nonsmokers Angiographically normal smokers Angiographically irregular smokers Angiographically normal nonsmokers Angiographically irregular nonsmokers Zeiher et al. Circulation. 1995;92:1094-1100.

14 Current smokers มีโอกาสเกิด endothelial dysfunction มากกว่า nonsmokers Lavi et al. Circulation. 2007;115:2621-2627. Endothelial Dysfunction (%) P=.03 60 45 30 15 0 NonsmokersEx-smokers Current Smokers 46% 34% 35%

15 ↑thrombogenicity↑thrombogenicity Tissue factor (TF) is highly expressed in atherosclerotic plaques and may play a role in thrombosis Tissue factor (TF) is highly expressed in atherosclerotic plaques and may play a role in thrombosis assessed by factor Xa assessed by factor Xa Smoking raise TF levels Smoking raise TF levels Factor Xa (FXa) pmol/L/min P=.003 Sambola et al. Circulation. 2003;107:973-977.

16 Smoking raise inflammation ↑WBC Count Lavi et al. Circulation. 2007;115:2621-2627; Stewart et al. Circulation. 2005;111:1756-1762 8 6 4 2 0 P<.0001 P=.03 P<.0001 Counts Cell Counts (10 9 /L) Current Smokers Ex-smokers WBCNeutrophilsLymphocytesMonocytes Nonsmokers

17 Smoking ↑risk of oxidative injury ↓Nitric Oxide (NO) Biosynthesis Barua et al. Circulation. 2001;104:1905-1910. 5000 0 Nonsmokers Current Smokers 4000 3000 2000 1000 NO Concentration (nmol/L) P<.0001 1266 3613

18 บุหรี่เพียงอย่างเดียวก็สามารถ ทำลาย หัวใจดวงน้อยๆได้สบายๆ Endothelial dysfunction ↑thrombogenicity ↑inflammatory response ↑oxidative modification

19 หากมีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆร่วม ด้วย... a All rates were age-adjusted by 10-year age groups to the US white male population in 1980. Hypercholesterolemia defined as cholesterol  250 mg/dL. Hypertension defined as a diastolic blood pressure  90 mm Hg. Burns. Prog Cardiovasc Dis. 2003;46(1): 11-29; Source: Pooling Project Research Group, 1978. Smoking + Cholesterol or HTN Risk Factor Status at Entry Into the Study Cholesterol + HTN All 3 Risk Factors Smoking,Cholesterol, or HTN alone No Risk Factors Rates per 1000 a

20 โดยสรุป... บุหรี่ กับ โรคหัวใจ ขาดเลือด บุหรี่ เป็นปัจจัยหลัก ที่สำคัญในการเกิด โรค CAD โดยผ่านกลไก บุหรี่ เป็นปัจจัยหลัก ที่สำคัญในการเกิด โรค CAD โดยผ่านกลไก  Endothelial dysfunction  ↑thrombogenicity  ↑WBC counts  ↑oxidative stress บุหรี่ สามารถร่วมกับปัจจัยเสริมอื่นๆใน การเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรค CAD ได้ บุหรี่ สามารถร่วมกับปัจจัยเสริมอื่นๆใน การเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรค CAD ได้ บุหรี่ สามารถเพิ่มโอกาสเสียชีวิตจากโรค CAD ได้ บุหรี่ สามารถเพิ่มโอกาสเสียชีวิตจากโรค CAD ได้

21 หากที่ทำงานไม่ปลอดบุหรี่หากที่ทำงานไม่ปลอดบุหรี่

22 ควันมือสอง ↑ ความเสี่ยง โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ a Light active refers to men smoking 1-9 cigarettes a day. b Heavy passive refers to upper three quarters of cotinine concentration combined (0.8 to 14.0 ng/mL). c Light passive refers to lowest quarter of cotinine concentration among nonsmokers (0-0.07 ng/mL). Whincup et al. BMJ. 2004;329:200-205. การได้รับควันมือสองเพิ่มความเสี่ยงเกิด โรคหัวใจได้ถึง 30% จำนวนปีที่ติดตาม สัดส่วนการเกิด โรคหัวใจตีบ05101520 0 0.05 0.10 0.150.20สูบไม่จัด รับควันมือสอง ประจำ รับควันมือสอง ไม่มาก

23 ควันบุหรี่มือสอง กับ ความ เสี่ยงของ AMI a The ratio of the odds of development of disease in exposed persons to the odds of development of disease in nonexposed persons. Adjusted for age, sex, region, physical activity, and consumption of fruits, vegetables, and alcohol. Adapted from Teo et al. Lancet. 2006;368:647-658. Nonsmokers Odds Ratio (95% CI) a การได้รับ ETS ( จำนวนชั่วโมง ต่อสัปดาห์ ) Never1-78-1415-21  22 4 2 1 0.75

24 ETS can reduce Vascular Endothelial Function Otsuka et al. JAMA. 2001;286:436-441.  การได้รับควันบุหรี่มือสองทำให้ coronary flow velocity reserve (CFVR) ลดลงได้แม้ไม่สูบเอง CFVR (Mean ±SD) P<.001 Before Acute Exposure After Acute Exposure

25

26 ↑Risk of Peripheral Vascular Disease a The ratio of the odds of development of disease in exposed persons to the odds of development of disease in nonexposed persons. Hooi et al. Scand J Prim Health Care. 1998;16:177-182. Odds Ratio (95% CI) a Ex-smokers Current Smokers Nonsmokers

27 เมื่อเลิกบุหรี่ โอกาสเกิด AMI ก็ ลดลง a The ratio of the odds of development of disease in exposed persons to the odds of development of disease in nonexposed persons. Adjusted for sex, region, diet, alcohol, physical activity, consumption of fruits, vegetables, and alcohol. Adapted from Teo. Lancet. 2006;368:647-658. P<.0001 Current>1-3>5-10>10-15  20 Ex-smokers ( จำนวนปีหลัง เลิกบุหรี่ ) >3-5>15-20 Odds Ratio (95% CI) a 4 2 1

28 Benefits of Citywide Smoke-Free Ordinance: ↓Acute MI Bartecchi et al. Circulation. 2006;114:1490-1496.  27% ↓incidence of acute myocardial infarction (MI) after implementation of a smoke-free ordinance in Pueblo City, Colorado AMI Counts per 100,000 Person-Years P<.001

29 การเลิกบุหรี่ ลดอัตราตายจาก การสวนหลอดเลือดหัวใจ Current smokers had a significantly greater risk of overall mortality after percutaneous coronary revascularization Current smokers had a significantly greater risk of overall mortality after percutaneous coronary revascularization Survival (%) 100 80 60 40 20 0 023456789101112 Years After Index Procedure Hasdai. N Engl J Med. 1997;336(11):755-761. Quitters Persistent Smokers

30 Cardiovascular Benefits ของ การเลิกบุหรี่ Short-term Benefits  fibrinogen concentration  fibrinogen concentration  rate of fibrinogen synthesis  rate of fibrinogen synthesis  WBCs  WBCs Improved HDL/LDL ratio Improved HDL/LDL ratio  risk of stroke  risk of stroke  HDL; decreased LDL  HDL; decreased LDL  arterial pressure  arterial pressure  HR  HR Improved arterial compliance Improved arterial compliance  risk of arrhythmic death after MI  risk of arrhythmic death after MI  platelet volume  platelet volume Enhanced platelet cAMP response to stimulation of ADP with prostaglandin E1 Enhanced platelet cAMP response to stimulation of ADP with prostaglandin E1  smoking-induced platelet aggregability  smoking-induced platelet aggregability Long-term Benefits Reduced risk of Reduced risk of  Stroke  Repeat CABG  Recurrent coronary events after MI  Arrhythmic death after MI  Secondary CVD events  Revascularization procedure after CABG Reduced Reduced  Mortality after CABG  Mortality after PTCA  Levels of inflammatory markers associated with progression of CVD (C-reactive protein, WBC, and fibrinogen) Twardella et al. Eur Heart J. 2004;25:2101-2108; Morita et al. J Am Coll Cardiol. 2005;45:589-594; Oren et al. Angiology. 2006;57:564-568; Terres et al. Am J Med. 1994; 97:242-249; Nilsson et al. J Int Med. 1996; 240:189-194; Peters et al. J Am Coll Cardiol. 1995;26:1287-1292; Rea et al. Ann Intern Med. 2002;137: 494-500; Hasdai et al. N Engl J Med. 1997;336:755-761; van Domburg et al. J Am Coll Cardiol. 2000; 36:878-883; Bakhru et al. PLoS Med. 2005;2:e160; Eliasson et al. Nicotine Tob Res. 2001;3 :249-255; Hunter et al. Clin Sci. 2001;100 :459-465; Wannamethee et al. JAMA. 1995;274:155-160.

31 ในเมื่อเรามีหัวใจเพียงคน ละ 1 ดวง รักหัวใจ อย่าสูบบุหรี่ อย่าสูบบุหรี่ เลิกสูบโดย เด็ดขาด ตั้งแต่ วันนี้ เลิกสูบโดย เด็ดขาด ตั้งแต่ วันนี้ หนีให้ห่างจาก ควันมือสอง หนีให้ห่างจาก ควันมือสอง รักษ์หัวใจ ไม่ยอมรับควัน บุหรี่มือสองในที่ ทำงาน ไม่ยอมรับควัน บุหรี่มือสองในที่ ทำงาน สถานที่ทำงาน ปลอดบุหรี่ สถานที่ทำงาน ปลอดบุหรี่ ออกกำลังกาย ออกกำลังกาย อาหาร & อารมณ์ อาหาร & อารมณ์

32 ในฐานะบุคลากร จะทำ อย่างไรดี

33 Refer Refer

34 Take Home บุหรี่มีผลกระทบต่อหัวใจและหลอด เลือดโดยตรง ทั้งทางตรงและทางอ้อม บุหรี่มีผลกระทบต่อหัวใจและหลอด เลือดโดยตรง ทั้งทางตรงและทางอ้อม ไม่ว่าจะเป็นการสูบบุหรี่โดยตรง หรือ ควันบุหรี่มือสอง ล้วนมีผลต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือดทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นการสูบบุหรี่โดยตรง หรือ ควันบุหรี่มือสอง ล้วนมีผลต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือดทั้งสิ้น การเลิกบุหรี่เป็นหนทางเดียวที่จะลด ความเสี่ยงเหล่านี้ได้ การเลิกบุหรี่เป็นหนทางเดียวที่จะลด ความเสี่ยงเหล่านี้ได้ หากรักษ์หัวใจจริง ต้องไม่สูบบุหรี่และ ไม่รับควันมือสอง หากรักษ์หัวใจจริง ต้องไม่สูบบุหรี่และ ไม่รับควันมือสอง สถานที่ทำงานทุกแห่งควรปลอดบุหรี่ สถานที่ทำงานทุกแห่งควรปลอดบุหรี่

35 ขอบคุณ ครับ


ดาวน์โหลด ppt รักษ์หัวใจในที่ทำงาน หัวใจ & บุหรี่ ผศ. นพ. สุทัศน์ รุ่งเรือง หิรัญญา, FCCP หน่วยโรคทางเดินหายใจและเวชบำบัดวิกฤตภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มศว.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google