งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุป แนวคิด “ การสร้างความรู้ ” (Additional A ๑ ) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา อยู่ที่ “ การสร้างความรู้ ”( ของแต่ ละคน ) ขึ้นมา นำเสนอโดย ศ. ดร. นิธิ เอียวศรีวงศ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุป แนวคิด “ การสร้างความรู้ ” (Additional A ๑ ) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา อยู่ที่ “ การสร้างความรู้ ”( ของแต่ ละคน ) ขึ้นมา นำเสนอโดย ศ. ดร. นิธิ เอียวศรีวงศ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุป แนวคิด “ การสร้างความรู้ ” (Additional A ๑ ) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา อยู่ที่ “ การสร้างความรู้ ”( ของแต่ ละคน ) ขึ้นมา นำเสนอโดย ศ. ดร. นิธิ เอียวศรีวงศ์ ( ๖ ก. ค. ๔๔ ) นำสรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพม. ๓๕ ( ๑๑ ก. พ. ๕๕ )

2 โดยปกติ คนเรารับรู้ / สื่อสาร ระหว่างกัน ด้วย “ ข้อเท็จจริง ” หนึ่ง / ชุดหนึ่ง “ ข้อเท็จจริง ” คือ ข้อมูลที่บอก ว่าอะไรคืออะไร เช่น เสื้อฉันสีขาว, โลกนี้กลม

3 วันๆหนึ่ง คนเรารับรู้ข้อมูล ( ข้อเท็จจริง ) เป็นครั้งๆ เป็น เรื่องๆ โดยในแต่ละครั้งไม่ได้สนใจว่า มันจะมีความสัมพันธ์กันหรือไม่ “ ความรู้ ” ที่จะก่อให้เกิด “ การ เรียนรู้ ” จึงไม่ค่อยเกิด !

4 “ ความรู้ ”(Knowledge) คือ อะไรหรือ ? “ ความรู้ ” คือ “ ข้อสรุป ” ที่ได้ จากการ “ เชื่อมโยง ” ข้อเท็จจริงกลุ่มหนึ่ง ให้ สัมพันธ์กันในเชิงอธิบาย หรือ เชิงที่เป็นเหตุเป็นผลต่อกัน

5 ผู้ที่จะสร้าง “ ข้อสรุป ” ได้ เป็นเรื่อง ของ “ แต่ละบุคคล ”( เท่านั้น ) ผู้อื่น / สิ่งอื่น จะถ่ายทอดตรงๆ ให้แก่เราไม่ได้ อาจได้แต่เพียงเราคิดตามความรู้ ของคนอื่น แล้วต้องได้ ” ข้อสรุป ” เป็นของตนเอง

6 “ กระบวนการคิดตาม ” จน จับเหตุผลได้ จะก่อให้เกิด การเรียนรู้ เป็น “ ความรู้ ” หากไม่มีกระบวนการคิดตาม เราจะจับได้เพียง “ ข้อเท็จจริง ” เท่านั้น

7 ตัวอย่างเช่น สูตร E=MC 2 ของไอสไตน์ คงเป็นเพียง “ ข้อเท็จจริง ” ของผม เพราะผมไม่รู้ “ กระบวนการ คิด ” ของไอสไตน์ จึงไม่มี ข้อสรุปอะไรใดๆเลย

8 อย่างไรก็ตาม “ ข้อเท็จจริง ” กับ “ ความรู้ ” มีความสัมพันธ์ / ความสำคัญ ( ถ้า ) ไม่มี “ ข้อเท็จจริง ” มันก็ ไม่มีข้อมูลที่จะสร้าง “ ความรู้ ” ได้ ( และ ) ถ้าไม่มุ่ง “ แสวงหา ความรู้ ” ก็ไม่รู้จะ “ สะสม ข้อเท็จจริง ” กันไปทำไม !

9 ปุจฉา “ การศึกษาไทย ”( อดีต ถึงปัจจุบัน ) เน้นแต่ข้อเท็จจริง ไม่สนใจสร้างความรู้ จริง หรือไม่ ? วิสัจฉนา จริงเพียงครึ่งเดียว เพราะยังให้ “ ข้อเท็จจริง ” ใน ปริมาณจำกัดอยู่

10 เพราะอะไร ? การศึกษาไทย มักป้อน “ ข้อเท็จจริง ” วิธีเดียว คือ ในชั้นเรียน / ในเวลาเรียน ( ตามหลักสูตร ) ( ครู ) ยังขาดการให้ / การแนะ เครื่องมือสำหรับหาข้อเท็จจริง อื่นๆ / แนวอื่น

11 ครูเรายังคิด ทำหน้าที่ยัดเยียด ข้อมูลชุดเล็กๆให้ เพื่อจดจำไว้ ในนามของความรู้ “ คุณภาพการศึกษา ” อยู่ ที่ “ การสร้างความรู้ ” ข้อเท็จจริง มิได้สักแต่ว่าได้รู้ ข้อเท็จจริง

12 แต่เมื่อรู้ “ ข้อเท็จจริง ” หนึ่ง ผู้เรียน ควร / ต้องสามารถ ติดตามกระบวนการคิดของครู หรือของเพื่อน / นักปราชญ์ ได้ ว่า เขา เชื่อมโยง สัมพันธ์ ข้อเท็จจริงต่างๆนั้นได้อย่างไร จึงเกิด “ ข้อสรุป ” อย่างหนึ่ง อย่างใดได้

13 แค่ ( ผู้เรียน ) ได้ติดตาม กระบวนการคิดได้จริง ก็เท่ากับ ได้สร้างความรู้ใหม่แล้ว ทำไปบ่อยเข้า ทุกคนก็จะมี นิสัย / ทักษะนี้ขึ้นมา เพื่อใช้ในการ ตอบปัญหา ของ เขาที่เขาสนใจ

14 “ กระบวนการเรียนรู้ ” ครู ต้องมีบทบาทหน้าที่ อำนวย ความสะดวก ในการให้ผู้เรียน ติดตามกระบวนการคิด เพื่อ สร้างความรู้ การจัดการเรียนรู้ ของครู ต้อง เน้น “ การตั้งคำถาม ” ได้ ติดตามกระบวนการคิด

15 การตั้งคำถาม ( ของครู ) ก็ต้อง เป็นคำถามที่ก่อให้เกิดการ เรียนรู้ คำถามที่อยากจะตอบได้ จะทำ ให้การเรียนอย่างสนุก การเก็บรวบรวมข้อเท็จจริง ก็ สนุก ( เท่าที่เครื่องมือหา ข้อเท็จจริงจะอำนวยให้ )

16 ฉะนั้น “ ข้อเท็จจริง ” กับ “ การ สร้างความรู้ ” จึงแยกจากกัน ไม่ออก เครื่องมือการสร้างความรู้ มี อยู่มากมาย ร. ร./ ครูต้องจัด เงื่อนไข / ช่วยเหลือ / อำนวย ความสะดวกให้แก่ผู้เรียน

17 ร. ร./ ครู ต้องจัดวางเงื่อนไข ให้ เหมาะกับผู้เรียน / สถานการณ์ และปรับเปลี่ยนได้ตามความ เหมาะสม ข้อเท็จจริง -  กระบวนการ เรียนรู้ --  ความรู้ ************


ดาวน์โหลด ppt สรุป แนวคิด “ การสร้างความรู้ ” (Additional A ๑ ) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา อยู่ที่ “ การสร้างความรู้ ”( ของแต่ ละคน ) ขึ้นมา นำเสนอโดย ศ. ดร. นิธิ เอียวศรีวงศ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google