งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วัคซีนคอตีบและบาดทะยัก (dT)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วัคซีนคอตีบและบาดทะยัก (dT)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วัคซีนคอตีบและบาดทะยัก (dT)

2 คุณลักษณะ เป็นวัคซีนชนิดแขวนลอย (Suspension) สีเทาออกขาว
ผลิตจาก Purified Diphtheria Toxoid และ Purified Tetanus Toxoid มีสารดูดซับวัคซีน : Aluminium Phosphate มีวัตถุกันเสียเป็น Thimerosal ไม่มี horse serum protein

3 ความแรงของวัคซีน ในวัคซีน 1 โด๊ส ขนาด 0.5 ml ประกอบด้วย
Diphtheria Toxoid (d) < 5 Lf (> 2 IU); (D) > 30 IU) Tetanus Toxoid (T) > 5 Lf (> 40 IU) Aluminium Phosphate (Adsorbed) < 1.25 mg Thimerosal 0.01%

4 ขนาดบรรจุและการเก็บวัคซีน
Multiple dose 1 ขวด, บรรจุ 10 โด๊ส เก็บที่อุณหภูมิ +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส เป็นวัคซีนที่ไวต่อความเย็น ห้ามแช่แข็ง!!!

5 การให้วัคซีน ผู้มีอายุมากกว่า 7 ปี ขึ้นไป รวมทั้งหญิงตั้งครรภ์
ขนาดที่ฉีดครั้งละ 0.5 ml ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ (IM) ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ : dT, DTP, HB, DTP-HB

6 ภูมิคุ้มกันที่เกิดขึ้น
ภูมิคุ้มกันเริ่มเกิด ~1-2 สัปดาห์ หลังฉีดโด๊สแรก ในผู้ใหญ่ที่ได้รับวัคซีนบาดทะยัก 2 เข็ม ห่างกันอย่างน้อย 1 เดือน ~80% ของผู้รับวัคซีนจะมีภูมิต้านทานโรคสูงเพียงพอต่อการป้องกันโรค และคงสูงได้นานไม่น้อยกว่า 3 ปี หากได้เข็ม 3 ห่างจากเข็ม 2 อย่างน้อย 6 เดือน พบว่า ~95% ของผู้ได้รับวัคซีนจะมีภูมิต้านทานโรคสูงเกินกว่าระดับที่ป้องกันโรคได้ และคงอยู่ได้นานไม่น้อยกว่า 5-10 ปี

7 “หลักการของให้วัคซีนหลายครั้ง”

8 ข้อห้ามและข้อควรระวัง
ผู้ที่มีประวัติ Anaphylaxis จากการให้วัคซีนนี้ครั้งก่อน ผู้ที่มีความผิดปกติทางระบบประสาท (GBS) ควรเลื่อนการให้วัคซีนไปก่อน ในผู้ที่มีอาการไข้รุนแรง สามารถให้วัคซีนนี้ได้ในกลุ่ม :- ผู้ติดเชื้อ HIV ผู้ได้รับยาต้านมะเร็ง หรือยากดภูมิคุ้มกัน ผู้ที่มีภาวะภูมิต้านทานโรคต่ำ หรือ ภูมิคุ้มกันบกพร่องอื่นๆ เช่น ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องแต่กำเนิด ผู้ป่วยตัดม้าม ผู้ป่วยที่เปลี่ยนหรือปลูกถ่ายอวัยวะ ฯลฯ

9 ผลข้างเคียงของ Td. Vaccine ที่พบได้... บ่อยๆ
อาการบวม แดง เจ็บเฉพาะที่ พบได้บ่อย ไม่ค่อยมีไข้ และอาจพบเป็นตุ่มไตที่ผิวหนัง (ฉีดไม่ลึก ถึงชั้นกล้ามเนื้อ) อาการบวมเจ็บรุนแรง (Arthus-like reaction) อาจ พบได้บ้าง อาการบวมเจ็บจากหัวไหล่ไปถึงศอก พบอาการแสดงภายใน 2-8 ชม.หลังฉีด พบในผู้ที่มีภูมิต้านทานต่อ Tetanus และ/หรือ Diphtheria ในร่างกายสูงมาก ดังนั้น...ควรงดเข็มถัดไป หรืองด booster (ภายใน 10 ปี) 9

10 อาการภายหลังได้รับวัคซีนที่พบได้... บ่อยๆ
dT, JE, MMR ปวด บวม แดง 10% ปวดเมื่อย dT % ไข้ MMR 5% (เริ่มเป็นหลังฉีด 7 วัน) หลังฉีด JE พบผื่นแพ้ได้บ่อย 10-25% หลังฉีด MMR 1 สัปดาห์ พบมีผื่นคล้ายหัด หรือต่อมน้ำลายบวม

11 Arthus’ Reaction

12 ความผิดพลาดในการบริหารจัดการที่ทำให้เกิด AEFIs
กระบวนการฉีดวัคซีนไม่ปลอดเชื้อ: นำเอากระบอกและเข็มฉีดยาชนิด นำกลับมาใช้ซ้ำ (ใช้ครั้งเดียวทิ้ง) เข็มและกระบอกฉีดยาไม่ปลอดเชื้อ มีการนำเอาวัคซีนครั้งก่อน นำกลับมาใช้ซ้ำ มีการปนเปื้อนของวัคซีน ติดเชื้อ : เกิดหนอง, ฝี หรือบาดแผลอักเสบบริเวณที่ฉีดวัคซีน ติดเชื้อในระบบต่างๆของร่างกาย, ติดเชื้อในกระแสเลือด, toxic shock syndrome มีการกระจายของโรคติดต่อที่นำโดยการปนเปื้อนเลือด, (HIV, hepatitis B or hepatitis C ) WPRO/EPI/99.01 12

13 ความผิดพลาดในการบริหารจัดการที่ทำให้เกิด AEFIs
ฉีดวัคซีนผิดตำแหน่ง : ฉีดทอกซอย dT, DTP, DT ตื้นไป (ไม่อยู่ในชั้นกล้ามเนื้อ) มีปฏิกิริยาเฉพาะที่ผิวหนัง หรือ มีฝีเกิดขึ้น (อาจเป็นฝี ไร้เชื้อ หรือ มีไตแข็ง) เกิดไปถูกเส้นประสาทไซอาติค ทำให้มีกล้ามเนื้อขาอัมพาตได้ (หรือในกรณีวัคซีนตับบี จะทำให้ดูดซึมไม่ดี วัคซีนไม่ได้ผล) ฉีดที่สะโพก WPRO/EPI/99.01 13

14 ความผิดพลาดในการบริหารจัดการที่ทำให้เกิด AEFIs
มีปฏิกิริยาเฉพาะที่มากขึ้น เนื่องจากวัคซีน (ที่ห้ามแช่แข็ง)แข็งตัว ทำให้ตกตะกอน วัคซีนที่แช่แข็ง จะทำให้วัคซีนเสื่อมคุณภาพ (การสร้างภูมิคุ้มกันได้ไม่ดี) การเก็บรักษาและการส่งต่อวัคซีนไม่ถูกต้อง (Cold Chain) ไม่ปฏิบัติตามข้อห้ามใช้... (Contraindication) ทำให้เกิดอาการ AEFIs ที่ควรจะหลีกเลี่ยงได้ WPRO/EPI/99.01 14

15 Thank you

16 ต่อโรคคอตีบในประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ
สภาวะระดับภูมิคุ้มกัน ต่อโรคคอตีบในประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ

17 2006

18 2002

19 2006

20 การศึกษา “ภูมิคุ้มกันโรคคอตีบในกลุ่มอายุ ปี ในจังหวัดหนองคายปี 2540” วันชัย สัตยาวุฒิพงศ์ วีระ ระวีกุล ละมัย ภูริบัญชา และคณะ วัคซีน DTP และ dT ให้มาแล้ว ปี ซึ่งเด็กกลุ่มนี้ อยู่ในช่วงที่ได้รับวัคซีนมาบ้าง? แต่ความครอบคลุมยังไม่สูง (DTP3 <90%) (Protected Immunity) ร้อยละ อายุ (ปี)

21 พรศักดิ์ อยู่เจริญ และคณะ
การศึกษา “สภาวะของระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคคอตีบของประชากร อำเภอหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร 2540” (447 ราย) พรศักดิ์ อยู่เจริญ และคณะ (Protected Immunity) ร้อยละ กลุ่มอายุ (ปี)

22 กราฟแสดงร้อยละของระดับภูมิต้านทานโรคคอตีบ
ในประชากร อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น 2554 ภูมิต้านทานโรคคอตีบ (ร้อยละ) รวม กลุ่มอายุ (ปี)

23 ร้อยละของระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคคอตีบ ในกลุ่มอายุ 20 - 60 ปี ประเทศไทย ปี 2556
Seroconversion IU/mL

24 ภูมิต้านทานโรคคอตีบ (ร้อยละ)
กราฟแสดงร้อยละของระดับภูมิต้านทานโรคคอตีบในประชากรจังหวัดเลย, อ.วังสะพุง และ อ.ด้านซ้าย ที่เกิดการระบาดปี 2555 จำนวน 213 ราย Titer < 0.1 IU/ml ระดับภูมิต้านทานที่ไม่สามารถป้องกันโรคคอตีบได้ ภูมิต้านทานโรคคอตีบ (ร้อยละ) กลุ่มอายุ (ปี)

25 ภูมิต้านทานโรคคอตีบ (ร้อยละ)
กราฟแสดงร้อยละของระดับภูมิต้านทานโรคคอตีบ ในเจ้าหน้าที่อายุมากกว่า 20 ปี จำนวน 57 ราย (สคร.1), 2555 ภูมิต้านทานโรคคอตีบ (ร้อยละ) ระดับภูมิต้านทาน

26 ข้อสังเกต... จากผลการศึกษา
รัสเซียเกิดการระบาดใหญ่ของโรคคอตีบ ในช่วงปี ภายหลังจากมีการแยกประเทศ ประมาณปี 1989 และมีผู้ป่วยสูงสุดในปี ซึ่งพบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นผู้ใหญ่ (68%) [ไทยพบเป็นผู้ใหญ่ร้อยละ 46.67] การระบาดใหญ่ของโรคคอตีบในรัสเซีย คิดเป็นระยะเวลาหลังจากเริ่มให้วัคซีนมาประมาณ 30+ ปี (เริ่มให้วัคซีนปลายทศวรรษ1950) สำหรับไทย เริ่มมีการระบาดโรคคอตีบในผู้ใหญ่ ปี 2555 หลังจากให้บริการวัคซีนในประชาชนประมาณ 35 ปี เริ่มให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ ปี 2520 ในช่วงเวลาประมาณ 10 ปี พบว่าระดับของภูมิต้านทานโรคคอตีบ จะมีอัตราการลดลงประมาณร้อยละ 10 (เฉลี่ยลดลงร้อยละ 1 ต่อปี) ซึ่งคาดว่าระดับภูมิคุ้มกันน่าจะลดลงอย่างน้อยประมาณร้อยละ เมื่อเทียบกับความครอบคลุมร้อยละ 90 ส่งผลให้สัดส่วนของผู้มีภูมิต้านทานโรคคอตีบได้ประมาณร้อยละ และมีโอกาสที่จะเกิดการระบาดของโรคได้

27 การศึกษาระดับภูมิต้านทานโรคคอตีบ ในพื้นที่รณรงค์ให้วัคซีนเสริม เพื่อควบคุมการระบาดของโรค ภายหลังได้รับวัคซีน dT แล้ว จำนวน 1 เข็ม และ 2 เข็ม

28 ภูมิต้านทานโรคคอตีบ (ร้อยละ)
กราฟแสดงร้อยละของระดับภูมิต้านทานโรคคอตีบ ในประชากร จ.หนองบัวลำภู หลังได้รับวัคซีน dT 1 เข็ม 2555 (200 ราย) ภูมิต้านทานโรคคอตีบ (ร้อยละ) กลุ่มอายุ (ปี)

29 ภูมิต้านทานโรคคอตีบ (ร้อยละ)
กราฟแสดงร้อยละของระดับภูมิต้านทานโรคคอตีบ ในประชากร จ.หนองบัวลำภู หลังได้รับวัคซีน dT 2 เข็ม 2555 (180 ราย) ภูมิต้านทานโรคคอตีบ (ร้อยละ) กลุ่มอายุ (ปี)

30

31 (Sutter RW.JID2000;181(Suppl1):S197-202.)

32

33 ผลการประชุมคณะกรรมการอนุสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เมื่อ 28 มกราคม 2556 มีมติ...
กำหนดให้รณรงค์ใช้วัคซีน dT จำนวน 1 ครั้ง ผู้ใหญ่กลุ่มอายุ ปี ให้สอบถามประวัติการได้รับวัคซีนที่มี่ส่วนประกอบของวัคซีนคอตีบในอดีต โดยเฉพาะในหญิงที่มีประวัติการตั้งครรภ์ การรณรงค์ฯ ให้เน้นในพื้นที่ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคคอตีบก่อน เช่น พื้นที่ตามแนวชายแดน พื้นที่ที่มีแรงงานต่างด้าวเป็นจำนวนมาก * เนื่องจากมีข้อจำกัดของปริมาณวัคซีนและการบริหารจัดการในการให้วัคซีน พื้นฐานการให้วัคซีนต้านทานโรคคอตีบ ให้วัคซีน dT จำนวน 3 ครั้ง โดยมีระยะห่างการให้วัคซีน 0, 1 และ 6 เดือน ให้กระตุ้นทุก 10 ปี 33 33

34 ข้อเสนอ... เพื่อให้พิจารณา
แนวทางการให้วัคซีนคอตีบ (ระยะยาว) กำหนดให้วัคซีน dT ทดแทน T ในทุกกรณี เช่น กลุ่มผู้มีบาดแผล แจ้งหน่วยบริการทุกแห่งทั้งภาครัฐและเอกชนรับทราบและถือปฏิบัติ แจ้งราชวิทยาลัยและสมาคมแพทย์ที่เกี่ยวข้องรับทราบและถือปฏิบัติ แจ้งบริษัทประกันภัย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับทราบ เพื่อเพิ่มความคุ้มครองและสิทธิประโยชน์แก่ผู้ถือกรรมธรรณ์ แจ้งบริษัทจำหน่ายวัคซีนทุกแห่งรับทราบนโยบายการใช้วัคซีน dT ทดแทน T ในทุกรณี เพื่อปรับแผนการจัดจำหน่ายวัคซีนในอนาคต แจ้ง อย. และคณะกรรมการบัญชียาหลักแห่งชาติ ยกเลิกวัคซีน T ออกจากทะเบียน/บัญชียาหลัก

35 ข้อเสนอ... เพื่อให้พิจารณา
แนวทางการให้วัคซีนคอตีบ (ระยะยาว) กำหนดตารางการให้วัคซีนมีการกระตุ้นในกลุ่มอายุที่เหมาะสม, กลุ่มเสี่ยงสูง หรือกลุ่มเฉพาะ เช่น หญิงตั้งครรภ์ ตารางการให้วัคซีนในหญิงตั้งครรภ์ (ตามแผนงานเดิมปี 2548) ตารางการให้วัคซีนในบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ? ตารางการให้วัคซีนในกลุ่มผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป ? ตารางการให้วัคซีนในนักเรียนระดับอาชีวะ อนุปริญญา และปริญญา ? ให้ฉีดวัคซีนกระตุ้นในประชาชนที่มีอายุครบรอบ 10 ปี ได้แก่ อายุ 20, 30, 25, 35, เป็นต้น

36 South-East Asia Countries
Diphtheria Outbreak in South-East Asia Countries

37 Reported cases of diphtheria, 2000 and 2007-2012
Country 2012 2011 2010 2009 2008 2007 2000 India 2,525 3,485 3,123 3,529 3,977 3,812 5,125 Nepal 138 94 146 277 149 44 268 Bangladesh 16 11 27 23 43 86 21 Myanmar 19 7 4 3 5 17 Thailand 63 29 65 12 8 15 Laos 130 34 2 Cambodia Malaysia 1 Indonesia 1,192 806 432 189 219 183 Viet Nam 13 6 32 113 Philippines 107 118 39 88 Pakistan 98 22 37 Source: WHO (Update of 2013/July/13)

38

39 Summary table Outbreak 2012
District, Province Susp Cases Deaths Remarks Xaysetha, Vientiane Capital 3 Onset late April; one of the cases treated at Nongkhai Hospital (Thailand) Xayaboury, Xayaboury 12 1 Onset June; dead case treated at hospital until family took him out; died shortly afterwards; no history of vaccination; Hmong ethnic Pakkading, Bolikhamxay 23 Early July; dead case went to Mahosot Hospital in Vientiane Capital; received DAT; died after discharged from hospital; doctor said heart problem (toxin related myocarditis??) Xamtai, Houaphanh 10 Onset mid October; remote Hmong community; deaths from same family (1 month, 6 and 8 years of age); antibiotic given to contacts; never vaccinated Huameung, Houaphanh 26/October; Hmong community; never received vaccination Med, Vientiane Province Patient treated at Loi Hospital (Thailand)

40 Distribution of Suspected cases and deaths 2010-2012
Xayabouly, Xayabouly Prov Houameung, Houaphanh Xamtay, Houaphanh Nonghead, Xiengkhouang Pakkading, Bolikhamxay Med, Vientiane Prov Xaysetha, Vientiane Cap

41 Reported Diphtheria cases 2011-2012
1 Dot = 1 case 2011 (7 cases) 2012 (17 cases)

42 Reported Diphtheria cases in Myanmar, 2013-2014(as of 18 July 2014)
1 Dot = 1 case 2013 Cases (39 cases) Deaths (13 cases) 1 Dot = 1 case 2014 Cases (8 cases) Deaths (3 cases)

43

44 Diphtheria Reported Cases in SEA countries, 2010-2013
Country 2013 2012 2011 2010 Nepal 103 138 94 146 Bangladesh 2 16 11 27 Myanmar 38 19 7 4 Thailand 28 63 77 Laos 20 130 34 Cambodia 3 Viet Nam 12 13 6 Malaysia Indonesia 775 1192 806 432 Source: WHO (Data as 2014/July/8)

45 อัตราป่วยโรคคอตีบและความครอบคลุมของ การได้รับวัคซีนคอตีบครบ 3 ครั้ง
ในเด็กอายุครบ 1 ปี : ประเทศไทย พ.ศ อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ร้อยละ แหล่งที่มา : สำนักระบาดวิทยาและสำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค อัตราป่วย ความครอบคลุม

46 1996 : Cancel the reporting system Insurgency in deep south
Reported cases of Diphtheria, in Deep South of Thailand during 1996 : Cancel the reporting system of vaccine coverage Health reform Number of cases Insurgency in deep south Year Source: Bureau of Epidemiology

47 Diphtheria reported cases by province, 2012
Chiang Rai 2 Phetchabun 5 Bungkan 1 Loei 27 Nong Bua LamPhu 3 Udon Thani Khon Kaen NakhonRatchasima Nakhon Si Thammarat Surat Thani Pattani 8 Songkhla Yala Total 63

48 ผู้ป่วยยืนยันโรคคอตีบปี 2556
จังหวัด ป่วย เสียชีวิต อายุ เดือนที่ป่วย ปัตตานี 3 2 < 15 ปี ม.ค.-ส.ค. สงขลา 4 ม.ค.-ก.ค. นราธิวาส 1 ก.พ.-พ.ค. ตาก มิ.ย. ยโสธร > 15 ปี มิ.ย.-ก.ย. อุดรธานี ก.ค.-ส.ค. กทม. ส.ค. , ธ.ค. สตูล ก.ย. เชียงใหม่ ยะลา ต.ค. รวม 21 7 ข้อมูล ณ วันที่ 21 ม.ค. 57 48

49 รายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีนปัองกันโรคคอตีบ, ประเทศไทย พ. ศ
รายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีนปัองกันโรคคอตีบ, ประเทศไทย พ.ศ 90 พ.ศ.2525 เริ่มให้ DTP 3 ครั้ง ปัจจุบัน... เด็กกลุ่มนี้ อายุ 30 ปี ความครอบคลุมวัคซีน (ร้อยละ) พ.ศ.2535 Cov. DTP3 > 90% ปัจจุบัน... เด็กกลุ่มนี้ อายุ 20 ปี พ.ศ. พ.ศ.2520 เริ่มแผนงานสร้างเสริมฯ ให้ DTP 2 ครั้ง ปัจจุบัน... เด็กกลุ่มนี้ อายุ 35 ปี กลุ่มอายุต่ำกว่า 12 ปี - DTP3 > 95% DTP4 > 90%

50 ปัญหาที่ต้องรีบแก้ไข วัคซีนครอบคลุมไม่ทั่วถึง โดยเฉพาะประชาชน
จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยยืนยันและเข้าข่ายโรคคอตีบ ในพื้นที่ที่มีการระบาด จำแนกตามกลุ่มอายุ ปี 2555 ปัญหาที่ต้องรีบแก้ไข วัคซีนครอบคลุมไม่ทั่วถึง โดยเฉพาะประชาชน ในถิ่นทุรกันดาร ชุมชนแออัดและชายแดนใต้ เสี่ยงที่โรคจะระบาด โรคคอตีบเริ่มกลับมาระบาด โรคหัดยังระบาดเป็นระยะ ส่วนใหญ่พบในเด็กเล็ก 0-7 ปี (44%) กลุ่มอายุ (ปี) จำนวน ( N=48) ร้อยละ 0-5 5 10.4 6-15 16 33.3 16-25 26 ปีขึ้นไป 22 45.8 รวม 48 100 ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

51 ความเสี่ยงในการระบาดของโรคคอตีบในประเทศไทย
ผู้ป่วยโรคคอตีบชาวลาวข้ามฝั่งมารักษา ที่ประเทศไทยหลายราย เช่นที่เชียงของ (จังหวัดเชียงราย) ท่าลี่ (จังหวัดเลย) การระบาดในลาวยังมีอยู่ต่อเนื่อง สปป.ลาว สหภาพพม่า ขอรับการสนับสนุน DAT จากไทย ช่องว่างภูมิต้านทานโรค กลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือ เกิดในช่วงต้นของ EPI เด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับไม่ครบ พื้นที่ต่างๆที่เสี่ยง Herd immunity ของ Diphtheria = 85 %

52 ความเสี่ยงในนการระบาดของโรคคอตีบในประเทศไทย
ช่องว่างของภูมิต้านทานโรค ประชาชนที่ยังไม่มีภูมิต้านทานโรค ในกลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือเกิดในช่วงต้นของ EPI และเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนครบ โดยเฉพาะชาวเขา ช่องว่างของภูมิต้านทานโรคเช่นนี้ มีอยู่ในจังหวัดอื่นๆด้วย 18 Oct 2012 To be verified

53 กรอบแนวทางในการดำเนินงานและงบประมาณที่ใช้เพื่อ
รณรงค์ให้วัคซีนเสริม (dT) แก่ประชากรไทยลุ่มเสี่ยง ปี2556 แนวทางที่... 1:ให้ทุกคน (1ครั้ง) 2:ให้ผู้ที่มีอายุหาร 5 ลงตัว (1ครั้ง) ได้แก่ 20, 25, 30, 35,……….. ปี 3:ให้ผู้ที่มีอายุหาร 10 ลงตัว (1ครั้ง) ได้แก่ 20, 30, 40, 50,……….. ปี ผลที่คาดหวัง ผู้ใหญ่กลุ่มเสี่ยงทุกคน มีภูมิต้านทานโรคคอตีบ ร้อยละ 30 ของผู้ใหญ่กลุ่มเสี่ยง มีภูมิต้านทานโรคตอตีบ ร้อยละ 15 ของผู้ใหญ่กลุ่มเสี่ยง มีภูมิต้านทานโรคตอตีบ กลุ่มเป้าหมาย อายุ ปี อายุ ≥ 20 ปีขึ้นไป จำนวน 30 ล้านคน 10 ล้านคน 5 ล้านคน ปริมาณวัคซีน 30 ล้านโด๊ส 10 ล้านโด๊ส 5 ล้านโด๊ส ระยะเวลา ~ ต.ค. - ธ.ค. 57 ~ เม.ย. 56 เป็นต้นไป ความถี่ 1 ครั้ง ทุกเดือน/ตลอดปี (นาน 5ปี) ทุกเดือน/ตลอดปี (แผนระยะยาว) พื้นที่ในการดำเนินงาน - พร้อมกันทั่วประเทศ พร้อมกันทั่วประเทศ - รายภูมิภาค - บุคลากร ระดมกำลังเจ้าหน้าที่ ในการฉีดวัคซีน ทุกส่วน เจ้าหน้าที่ในการฉีดวัคซีนตามปกติ ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค งบประมาณ 253 ล้านบาท 76.2 ล้านบาท 38.1 ล้านบาท ค่าวัคซีน 230 ล้านบาท 74 ล้านบาท 37 ล้านบาท ค่าบริหารจัดการ 23 ล้านบาท 2.2 ล้านบาท 1.1 ล้านบาท *หมายเหตุ: -การจัดหาวัคซีน dT ในภาวะเร่งด่วนสามารถจัดหาได้ 5-7 ล้านโด๊ส/เดือน และ -ต้องสั่งล่วงหน้าประมาณ วัน


ดาวน์โหลด ppt วัคซีนคอตีบและบาดทะยัก (dT)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google