ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
2
จุดหมายปลายทาง (Destination)
ประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) กระบวนการ (มุมมองเชิงบริหารจัดการ) - ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตนเอง - ชุมชนมีศักยภาพในการดูแลสุขภาพ ของประชาชนในชุมชนได้ - ประชาชนมีภาวะสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม - มีองค์ความรู้นวัตกรรมเทคโนโลยี ที่ทันสมัย ตรงความต้องการของลูกค้า - การถ่ายทอดองค์ความรู้ / เทคโนโลยี ที่มีมาตรฐานครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย - มีระบบสารสนเทศที่ทันสมัยเข้าถึงได้ง่าย - มีความสัมพันธ์ที่ดีกับภาคีเครือข่าย ภาคีเครือข่าย (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) พื้นฐาน (มุมมองเชิงการเรียนรู้ และพัฒนา) - ภาคีเครือข่ายให้การสนับสนุน การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพในพื้นที่ - องค์กรท้องถิ่นเห็นความสำคัญ และ ให้การสนับสนุนทรัพยากรในการส่งเสริมสุขภาพต่อชุมชนอย่างต่อเนื่อง - มีเครือข่ายการดำเนินงานในชุมชน - ฐานข้อมูลมีประสิทธิภาพ - องค์กรมีสมรรถนะสูง - บุคลากรมีศักยภาพเป็นมืออาชีพ
3
แผนที่ยุทธศาสตร์โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ประจำตำบล (SLM)
ปี พ.ศ กรมอนามัย ประชาชน (Valuation) ภาคีเครือข่าย (Stakeholder) กระบวน การ (Management) พื้นฐาน (Learning / Development) ชุมชนมีศักยภาพในการดูแลตนเองได้ - ชุมชนมีการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง มีแผนงาน ชุมชนพึ่งตนเองได้ในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ - ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนชุมชน ภาคีเครือข่ายสนับสนุนการส่งเสริม ดำเนินงาน รพ.สส. ประจำตำบล - พัฒนาความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนทรัพยากร อย่างเพียงพอ และต่อเนื่อง - สร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการภาวะสุขภาพประชาชนในพื้นที่ โรงพยาบาล (PCU) มีความสัมพันธ์ที่ดีกับภาคีเครือข่าย - สร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย มีระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ - ประสานความร่วมมือภาครัฐ / เอกชนสร้างกระแสสังคม พัฒนาระบบจัดการความรู้ - สนับสนุนให้มีการบริหารจัดการความรู้ มีระบบการพัฒนาองค์ความรู้ นวัตกรรม และบริการส่งเสริมสุขภาพชุมชน - พัฒนาระบบการบริการ และการส่งเสริมสุขภาพคุณภาพอย่างเป็นองค์รวมต่อเนื่อง สอดคล้องความต้องการ มีระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ - พัฒนาช่องทางการสื่อสาร ข้อมูลทันสมัยมีประสิทธิภาพ - พัฒนาระบบฐานข้อมูล สารสนเทศ และเทคโนโลยี ด้านส่งเสริมสุขภาพ มีทักษะ และสมรรถนะที่เหมาะสม - พัฒนาความเป็นมืออาชีพ ด้านการพัฒนา และประเมินโรงพยาบาลประจำตำบล คุณลักษณะขององค์กรที่ดี - พัฒนาบุคลากรให้เป็นผู้นำ และทำงานเป็นทีม
4
แนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จากเวทีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับชาติ ครั้งที่ 6 24 – 26 มิถุนายน 2552
5
1. กระทรวงสาธารณสุขควรปรับกระบวนทัศน์ให้บุคลากรสาธารณสุขเข้าใจหลักการส่งเสริมสุขภาพเพื่อให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพได้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ 2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลประยุกต์ใช้แนวคิด และกระบวนการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพเพื่อการพัฒนาคุณภาพบริการ
6
3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จัดกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพของ กลุ่มวัยต่าง ๆ เช่น คลินิกฝากครรภ์ คลินิกสุขภาพเด็กดี คลินิกวัยรุ่น คลินิก ไร้พุง คลินิกผู้สูงอายุ ควบคู่กับกิจกรรมพัฒนาชุมชน โดยชุมชนและท้องถิ่น มีส่วนร่วมพัฒนา จนเกิดมาตรการสังคมในชุมชน
7
4. โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน ทำงานร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อย่างเป็นเครือข่าย ทั้งด้านการให้คำปรึกษาและการส่งต่ออย่างเป็นระบบ 5. การจัดสรรทรัพยากรควรปรับปรุง ให้สอดคล้องกับความต้องการ ของแต่ละพื้นที่
8
บริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
คลินิกฝากครรภ์ 2. คลินิกเด็กดี และพัฒนาการเด็ก 3. คลินิกวัยรุ่น และให้คำปรึกษา 4. คลินิกวางแผนครอบครัว 5. คลินิกไร้พุง 6. คลินิกผู้สูงอายุ
9
บริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
7. การเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ 8. อนามัยโรงเรียน 9. การทำแผนชุมชน กิจกรรมชุมชน พัฒนาชุมชน ชมรมสร้างสุขภาพ ชมรมผู้สูงอายุ ชมรมเด็กไทยทำได้
10
"ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"
กรมอนามัย "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.