งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Charter 7 1 Chapter 7 การจัดการไฟล์ข้อมูล Data File Management.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Charter 7 1 Chapter 7 การจัดการไฟล์ข้อมูล Data File Management."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Charter 7 1 Chapter 7 การจัดการไฟล์ข้อมูล Data File Management

2 Charter 7 2 การจัดการไฟล์ข้อมูล คือ การจัดเก็บรวบรวมข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์อย่างมีระบบ ข้อมูลนี้ได้แก่ ข้อมูลนำเข้า , ผลลัพธ์จากการประมวลผล รวมถึงวิธีการจัดการกับข้อมูลและจัดเก็บข้อมูลที่ได้ในระบบคอมพิวเตอร์

3 การจัดการไฟล์ข้อมูล วัตถุประสงค์ของการจัดการไฟล์ข้อมูล
Charter 7 3 การจัดการไฟล์ข้อมูล วัตถุประสงค์ของการจัดการไฟล์ข้อมูล 1. เพื่อหาวิธีการจัดเก็บไฟล์ข้อมูลในหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง 2. เพื่อหาวิธีในการดึงข้อมูลจากไฟล์เพื่อนำมาประมวลผล 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการสร้างไฟล์และบำรุงรักษาไฟล์

4 การจัดการไฟล์ข้อมูล องค์ประกอบของข้อมูล 1. ตัวอักขระ (Character)
Charter 7 4 การจัดการไฟล์ข้อมูล องค์ประกอบของข้อมูล 1. ตัวอักขระ (Character) 2. ฟิลด์ (Field) 3. เรคอร์ด (Record) 4. ไฟล์ข้อมูล (Data File) - ไฟล์หลัก (Master File) - ไฟล์รายการเปลี่ยนแปลง (Transaction File) - ไฟล์รายงาน (Report File) - ไฟล์รียงลำดับข้อมูล (Sort File) 5. ดาต้าเบส (Database)

5 การจัดการไฟล์ข้อมูล การจัดเก็บไฟล์ข้อมูล แบ่งได้ 3 วิธีการ
Charter 7 5 การจัดการไฟล์ข้อมูล การจัดเก็บไฟล์ข้อมูล แบ่งได้ 3 วิธีการ 1. แบบลำดับ (Sequential File Organization) 2. แบบโดยตรง (Direct File Organization) 3. แบบลำดับเชิงดัชนี (Indexed Sequential File Organization)

6 การจัดการไฟล์ข้อมูล แบบลำดับ (Sequential File Organization)
Charter 7 6 การจัดการไฟล์ข้อมูล แบบลำดับ (Sequential File Organization) เป็นการจัดเก็บข้อมูลแบบเรียงลำดับต่อเนื่องกันไปตามคิว วิธีนี้เหมาะกับการประมวลผลแบบกลุ่ม ที่ต้องการประมวลผลข้อมูลทั้งหมด วิธีการนี้ช้าที่สุด

7 การจัดการไฟล์ข้อมูล แบบโดยตรง (Direct File Organization)
Charter 7 7 การจัดการไฟล์ข้อมูล แบบโดยตรง (Direct File Organization) บางครั้งเรียกว่า การจัดการไฟล์แบบสุ่ม (Random Access File Organization) การเข้าถึงข้อมูลไม่จำเป็นต้องเรียงลำดับ การเข้าถึงข้อมูลเร็วกว่าแบบลำดับมาก เหมาะกับงานที่ต้องการความเร็วในการทำงานสูง การหาตำแหน่งข้อมูล ใช้ เทคนิคแบบแฮชชิ่ง (Hashing Technique) หรือเทคนิคแบบสุ่ม (Randomizing Technicque)

8 การจัดการไฟล์ข้อมูล การแฮชชิ่ง (Hashing)
Charter 7 8 การจัดการไฟล์ข้อมูล การแฮชชิ่ง (Hashing) เป็นการรหัสของข้อมูลให้เป็นตำแหน่งที่อยู่ในดิสก์ โดยใช้สูตรเป็นตัวแปลง ประสิทธิภาพนั้นขึ้นอยู่กับสูตรที่เลือกใช้ ส่วนมากจะใช้วิธีการหารด้วยตัวเลข Prime (จำนวนเฉพาะที่หารด้วยตัวเองและ 1 ลงตัวเท่านั้น) จากนั้นนำเศษจากการหารไปใช้เป็นตำแหน่งที่อยู่จริง ข้อเสียคือ อาจจะเกิดการชนกัน (Collision) ของตำแหน่งจากการทำแฮชชิ่ง แก้โดยการหาตำแหน่งว่างถัดไปเก็บข้อมูล และข้อมูลจะกระจาย

9 Charter 7 9 การจัดการไฟล์ข้อมูล แบบไฟล์ลำดับเชิงดัชนี (Index Sequential File Organization) เป็นการรวม 2 วิธีการแรกเข้าด้วยกัน โดยเก็บข้อมูลออกเป็น 2 สว่น ส่วนแรกจะเก็บไฟล์ดัชนีไว้ซึ่งคีย์สูงสุดและหมายเลขแทร็กเอาไว้ ส่วนที่ 2 จะเก็บไฟล์ข้อมูล วิธีการนี้มีความเร็วกว่าแบบลำดับ แต่ช้ากว่าแบบดัชนี

10 การจัดการไฟล์ข้อมูล การประมวลผลข้อมูลในทางธุรกิจ แบ่งได้ 2 แบบ
Charter 7 1010 การจัดการไฟล์ข้อมูล การประมวลผลข้อมูลในทางธุรกิจ แบ่งได้ 2 แบบ 1. การประมวผลแบบแบตซ์ (Batch Processing) 2. การประมวลผลแบบเรียลไทม์ (Real Time Processing)

11 การจัดการไฟล์ข้อมูล การประมวลผลแบบแบตซ์ (Batch Processing)
Charter 7 1111 การจัดการไฟล์ข้อมูล การประมวลผลแบบแบตซ์ (Batch Processing) เป็นการเก็บรวบรวมรายการเปลี่ยนแปลง (Transaction) ที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน และนำมาประมวลผลในภายหลัง การประมวลผลแบบบนี้ เหมาะกับงานที่ต้องการประมวลผลเป็นกลุ่ม ลดค่าใช้จ่ายในการประมวลผล

12 การจัดการไฟล์ข้อมูล การประมวลผลแบบเรียลไทม์ (Real Time Processing)
Charter 7 1212 การจัดการไฟล์ข้อมูล การประมวลผลแบบเรียลไทม์ (Real Time Processing) เป็นการประมวลผลทันทีที่เกิดรายการเปลี่ยนแปลงขึ้น และรายงานผลให้ผู้ใช้ทราบทันที หรืออาจเรียกว่า ออนไลน์ (On-Line) การทำงานจะใช้ระบบแบ่งเวลา (Time Sharing) เนื่องจากสามารถใช้งานได้พร้อมกันหลาย ๆ คน


ดาวน์โหลด ppt Charter 7 1 Chapter 7 การจัดการไฟล์ข้อมูล Data File Management.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google