งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)
แสงอาทิตย์สู่ลม

2 แสงอาทิตย์สู่ลม ภูมิใจเสนอโดย นาย โกศาสตร์ ทวิชศรี

3 แสงอาทิตย์สู่ลม บทนำ (พลังงานลมเกิดขึ้นได้อย่างไร)
1. แสงอาทิตย์สู่ลมมาจากไหน 2. การวัดลม 3. ประเภทของลมแบ่งตามระดับความสูง 4. การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ 5. ลมกรด (Jet Stream) 6. ลมมรสุม (Monsoon) 7. ลมท้องถิ่น 8. ความเร็วลมในประเทศไทย

4 1. แสงอาทิตย์สู่ลมมาจากไหน
30m SRTM Reflectance Image The WMS Global Mosaic, a High Resolution, Global Coverage, Landsat 7 mosaic.

5 แสงอาทิตย์สู่ลม

6 แสงอาทิตย์สู่ลม ●2 การวัดลม มี 2 วิธี 2.1 การวัดทิศทางลม
2.2 การวัดความเร็วลม

7 แสงอาทิตย์สู่ลม 2.1 การวัดทิศทางลม รูป ทิศลมเรียกเป็นองศาจากทิศจริง

8 แสงอาทิตย์สู่ลม 2.2 การวัดความเร็วลม P=kV2
คือ การวัดการเคลื่อนที่ของอากาศ ที่ทำให้เกิดแรงหรือ ความกดที่ผ่านจุดที่กำหนดให้บนพื้นผิวโลก และแรงหรือ ความกดเป็นสัดส่วนกับกำลังสองของความเร็วลม P=kV2 P คือ ความกดที่เกิดจากการกระทำของลม V คือ ความเร็วลม k คือ ค่าคงที่ของหน่วยที่ใช้

9 แสงอาทิตย์สู่ลม 3 ประเภทของลมแบ่งตามระดับความสูง 3.1 ลมชั้นบน
3.1.1 ลมยีโอสโทรฟิก (Geostrophic Wind) 3.1.2 ลมเกรเดียนด์ (Gradient Wind) 3.2 ลมผิวพื้น (Surface Winds)

10 แสงอาทิตย์สู่ลม 3.1.1 ลมยีโอสโทรฟิก (Geostrophic Wind)
รูป ลมยีโอสโทรฟิกพัดขนานกับไอโซบาร์ ในซีกโลกเหนือความกดอากาศต่ำ จะอยู่ ทางซ้ายของลม ส่วนในซีกโลกใต้ความกดอากาศต่ำ จะอยู่ทางขวาของลมกับความเร็ว

11 แสงอาทิตย์สู่ลม รูป ทิศทางของลมยีโอสโทรฟิก ในซีกโลกเหนือ
PH= แรงความชันความกดอากาศในแนวนอน C = แรงคอริออลิส V = ลมยีโอสโทรฟิก รูป ทิศทางของลมยีโอสโทรฟิก ในซีกโลกเหนือ ที่ไม่มีแรงฝืดในระดับความสูงจากพื้นดิน 3 กิโลเมตร

12 รูป ความสมดุลของแรง 3 แรง รอบๆ
แสงอาทิตย์สู่ลม 3.1.2 ลมเกรเดียนด์ (Gradient Wind) PH=แรงความชันความกดอากาศในแนวนอน C =แรงคอริออลิส CF=แรงหนีศูนย์กลาง W =ทิศทางลม Ph + CF = C Ph = C + CF (ข) บริเวณความกดอากาศสูง ในซีกโลกเหนือ (ก) บริเวณความกดอากาศต่ำ รูป ความสมดุลของแรง 3 แรง รอบๆ

13 แสงอาทิตย์สู่ลม 3.2 ลมผิวพื้น (Surface Winds)
คือ ลมที่พัดจากบริเวณผิวพื้น ไปยังความสูงประมาณ 1 กิโลเมตรเหนือพื้นดิน รูป ในระดับความสูง 1 กิโลเมตรแรกจากผิวพื้นที่มีแรงฝืด ลมผิวพื้นพัดข้ามไอโซบาร์ และทำมุมกับไอโซบาร์

14 แสงอาทิตย์สู่ลม รูป ลมผิวพื้น

15 รูป แผนที่ลมชั้นบน ระดับ 5000 ฟุต
แสงอาทิตย์สู่ลม รูป แผนที่ลมชั้นบน ระดับ 5000 ฟุต รูป แผนที่ลมชั้นบน ระดับ 600 เมตร

16 แสงอาทิตย์สู่ลม 4. การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ
รูป การหมุนเวียนทั่วไป ของอากาศแบบจำลองวงจรเดี่ยว

17 รูป ก การหมุนเวียนทั่วไปของอากาศแบบจำลอง 3 วงจร
แสงอาทิตย์สู่ลม รูป ก การหมุนเวียนทั่วไปของอากาศแบบจำลอง 3 วงจร

18 แสงอาทิตย์สู่ลม รูป ก การหมุนเวียนทั่วไปของอากาศแบบจำลอง 3 วงจร
รูป ก การหมุนเวียนทั่วไปของอากาศแบบจำลอง 3 วงจร รูป ข ลมผิวพื้นและระบบความกดอากาศ

19 แสงอาทิตย์สู่ลม 5. ลมกรด (Jet Stream)
เป็นกระแสลมแรงอยู่ในเขตโทรโพพอส (แนวแบ่งเขตระหว่างชั้นโทรโพสเฟียร์กับชั้นสเตรโตสเฟียร์) 5.1 ลมกรดบริเวณโซนร้อน (Subtropical Jet) เกิดขึ้นในละติจูด ประมาณ 30 องศาเหนือและใต้ 5.2 ลมกรดบริเวณขั้วโลก (Polar Jet) เกิดขึ้นในละติจูด ประมาณ 60 องศาเหนือและใต้ ใกล้กับ แนวปะทะอากาศขั้วโลก

20 แสงอาทิตย์สู่ลม รูป ตำแหน่งที่ตั้งโดยเฉลี่ยของลมกรดในเขตโทรโพพอส

21 รูป (ก) ลมมรสุมฤดูหนาว (ข) ลมมรสุมฤดูร้อน
แสงอาทิตย์สู่ลม 6. ลมมรสุม (Monsoon) หมายถึง ลมที่พัดเปลี่ยนทิศทางกลับการเปลี่ยนฤดู คือ ฤดูร้อนจะพัดในทิศทางหนึ่ง และจะพัดเปลี่ยนทิศทางในทางตรงกันข้ามในฤดูหนาว รูป (ก) ลมมรสุมฤดูหนาว (ข) ลมมรสุมฤดูร้อน

22 แสงอาทิตย์สู่ลม 7. ลมท้องถิ่น ●7.1 ลมทะเลและบก
เป็นลมที่เกิดขึ้นภายในท้องถิ่น เนื่องจากอิทธิพลของภูมิประเทศและความเปลี่ยนแปลงของความกดอากาศ มี 7 ชนิด ●7.1 ลมทะเลและบก 7.1.1 ลมทะเล (Sea Breeze) 7.1.2 ลมบก (Land Breeze)

23 แสงอาทิตย์สู่ลม 7.2 ลมภูเขาและลมหุบเขา รูป ลมหุบเขา และลมภูเขา
(ก) ลมหุบเขา (ข) ลมภูเขา รูป ลมหุบเขา และลมภูเขา

24 แสงอาทิตย์สู่ลม 7.3 ลมพัดลงลาดเขา (Katabatic Wind) รูป ลมพัดลงลาดเขา

25 แสงอาทิตย์สู่ลม 7.4 ลมชีนุก (Chinook) รูป ลมชีนุก

26 แสงอาทิตย์สู่ลม 7.5 ลมทะเลทราย
(Desert Winds) รูป ลมท้องถิ่นที่เกิดขึ้นทางเหนือของทวีปแอฟริกา

27 แสงอาทิตย์สู่ลม 7.6 ลมตะเภาและลมว่าว
เป็นลมท้องถิ่นในประเทศไทย โดยลมตะเภาเป็นที่พัดจากทิศใต้ไปยังทิศเหนือคือ พัดจากอ่าวไทยเข้าสู่ภาคกลางตอนล่าง พัดในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน

28 แสงอาทิตย์สู่ลม 8. ความเร็วลมในประเทศไทย
ความเร็วลมในประเทศไทยโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง-ต่ำ คือต่ำกว่า 4 เมตร/วินาที แผนที่ลมรายปี

29 พลังงานลม (Wind Energy)
?

30 จบบริบูรณ์


ดาวน์โหลด ppt รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google