งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ พ.ศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ พ.ศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ พ.ศ. 2560 - 2564
นโยบายการดำเนินงาน ด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ พ.ศ โดย......นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพิ่มประสิทธิภาพการขับเคลื่อน (ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี ด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระยะปฏิรูป (พ.ศ ) สู่การปฏิบัติในพื้นที่ วันที่ 1-2 มิถุนายน 2560

2 ขอบเขตการนำเสนอ ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ 20 ปี
กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี ด้านการป้องกันควบคุมโรค HEALTH 4.0 สู่ DDC 4.0 ( SMART DDC) แนวนโยบายการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 20 ปี

3 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์กับการป้องกันควบคุมโรค & การกำหนดตัวชี้วัด
การพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี Model Thailand 4.0 แผนพัฒนาศก.สังคมประเทศ ฉ. 12 ( ) ยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุข 20 ปี กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี ด้านป้องกันควบคุมโรค แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉ. 12 ( ) แผนปฏิบัติการ และตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายกระทรวง สธ. ระยะ 5 ปี แผนพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรค ฉ. 12 ( ) ยุทธศาสตร์โรค/แผนงานป้องกันควบคุมโรคต่างๆ ยุทธศาสตร์กรมควบคุมโรค ( ) ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายการลดโรคของกรมควบคุมโรค 5 ปี /1 ปี เพื่อเป็นกรอบการจัดทำแผนงาน/แผนงบรายปี กองแผนงาน กรมควบคุมโรค

4 วิสัยทัศน์ เป้าหมาย จุดเน้น
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติ กระทรวง กรม/วิสัยทัศน์/เป้าหมาย ระยะ 20 ปี วิสัยทัศน์ เป้าหมาย จุดเน้น 4.0 ยุทธศาสตร์ชาติ “ประเทศมีความ ”มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” พัฒนาคนไทยให้เป็น “คนไทยที่สมบูรณ์” “เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี” “ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน” “ประชาชนสุขภาพดี” เพิ่ม LE 85 ปี เพิ่ม HALE 75 ปี MOPH 4.0 ยุทธศาสตร์สธ. “ประชาชนสุขภาพดี มีระบบป้องกันควบคุมโรคที่ได้มาตรฐานและมีเอกภาพการขับเคลื่อนทุกภาคส่วน” “ประชาชนสุขภาพดี” ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย “ประชาชนได้รับการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระดับมาตรฐานสากล ภายในปี 2579” ยุทธศาสตร์คร. “SMART Prevent - Detect - Respond” “EOC- CD –NCD- EN Occ” แผนยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค ( ) ปฏิรูประบบ 2560 – 2564 สร้างความเข้มแข็ง สู่ความยั่งยืน เป็น 1 ใน 3 ของเอเชีย จุดเน้น ปี 61 EOC NCD TB ยุงลาย เป้าหมายลดโรคและภัยสุขภาพ แผนพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคในช่วงแผนฯ 12 ( ) กรอบแผนปฏิบัติราชการเชิงยุทธศาสตร์กรมคร. ระยะปฏิรูป พ.ศ แผนยุทธศาสตร์ โรคติดต่อ แผนยุทธศาสตร์ โรคติดต่ออุบัติใหม่ แผนยุทธศาสตร์ เอดส์ วัณโรค โรคเรื้อน ตับอักเสบ แผนยุทธศาสตร์ ปัจจัยเสี่ยง(Alc. ยาสูบ) แผนยุทธศาสตร์ โรคไม่ติดต่อ แผนยุทธศาสตร์ การบาดเจ็บ แผนยุทธศาสตร์ โรคประกอบอาชีพ &สิ่งแวดล้อม กองแผนงาน กรมควบคุมโรค

5 กรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
“ประเทศมีความ ”มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” “Value – Based Economy” “คนไทยที่สมบูรณ์” 4.0 “มั่งคั่ง” 2 ความสามารถ ในการแข่งขัน กรอบแนวทางที่สำคัญ พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต การสร้างเสริมให้คนมีสุขภาวะที่ดี 1 ความมั่นคง 4 สร้างโอกาส ความเสมอภาค และเท่าเทียม คนไทยที่สมบูรณ์ กล่าวคือ “มีวินัย ทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคม มีความเป็นพลเมืองตื่นรู้ มีความสามารถปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทันสถานการณ์ มีความรับผิดชอบและทำประโยชน์เพื่อส่วนรวม มีสุขภาพกายและใจที่ดี มีความเจริญงอกงามทางจิตวิญญาณ มีวิถีชีวิตพอเพียง มีความเป็นไทย” 3 ศักยภาพคน 6 ระบบการ บริหารจัดการ ภาครัฐ 5 เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม “มั่นคง” “ยั่งยืน” กองแผนงาน กรมควบคุมโรค

6 People centered approach Mastery H umility
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) (ตุลาคม 2559 ถึง พ.ศ. 2579) ขับเคลื่อน MOPH 4.0 เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วม และยั่งยืน Inclusive Growth Engine Productive Growth Engine Originality People centered approach Mastery H umility MoPH Green Growth Engine เป้าหมาย ประชาชนสุขภาพดี ระบบสุขภาพยั่งยืน เจ้าหน้าที่มีความสุข นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และการปฏิรูปประเทศไทย ด้านสาธารณสุข ประเทศไทย 4.0 กรอบแนวคิด แผนปฏิรูป ปรับจากเอกสารประกอบการประชุมพิจารณาตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ 20 ปี กระทรวงสาธารณสุข 1 ก.ย. 2559

7 ตัวชี้วัดระดับ (Cooperate KPIs) และแผนงานตามกรอบ 4 EX
ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด(LE) ไม่น้อยกว่า 85 ปี ดัชนีวัดความสุขด้วยตนเอง ของคนในองค์กร (Happy Work Life Index) ≥50 Access Coverage External causes Quality ดัชนีสุขภาวะองค์กร (Happy Workplace Index) ≥57 Governance Chronic diseases อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 75 ปี (HALE) 2. Service Excellence 1. P&P Excellence ลดปัจจัยเสี่ยงและการเจ็บป่วย 4. Governance Excellence ส่งเสริมสุขภาพของคนไทย 3. People Excellence

8 ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี สธ
ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี สธ. ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันควบคุมโรค P&P Excellence Service Excellence ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง (เป้าหมาย ปี 64 :ร้อยละ 100) 10. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ (เป้าหมายปี 64 : DM ≥ ร้อยละ 40 (ปี 64) : HT ≥ ร้อยละ 50 ) 2. อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และ กลับเป็นซ้ำ (เป้าหมายปี 64 : ร้อยละ 90 ) 11. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการ ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) (เป้าหมายปี 64 : ≥ ร้อยละ 90 ) 3. ร้อยละของกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เชิงรุก : (เป้าหมายปี 64 : ร้อยละ 94 ) 12. ร้อยละการผ่านเกณฑ์ของหน่วยบริการสาธารณสุข สำหรับการ จัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ ตามเกณฑ์ที่กำหนด (เป้าหมายปี 64 : ร้อยละ 95 ) 4.ร้อยละของตำบลจัดการสุขภาพในการเฝ้าระวัง ป้องกันแก้ไขปัญหาโรค พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี (เป้าหมายปี 64 : ร้อยละ 80) 5. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี (เป้าหมายปี 64 : ไม่เกิน 3.0 ต่อแสนประชากร ) 6. อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน (เป้าหมายปี 64 : ไม่เกิน 11 ต่อแสนประชากร) 7. อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (เป้าหมายปี 64 : ร้อยละ 2.16) 8. ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป (เป้าหมายปี 64 : ร้อยละ 16) 9. ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ต่อประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป (เป้าหมายปี 64 : ไม่เกิน 6.54 ลิตรของแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนต่อปี)

9 การเปลี่ยนแปลงอนาคต การป้องกันควบคุมโรค
2. การเปลี่ยนแปลงด้านประชากร และพฤติกรรมของประชาชน 1. การเปลี่ยนผ่านสู่สังคมโลกยุคใหม่ดิจิตอล และนวัตกรรม การเปลี่ยนแปลงทางประชากร สังคม และสิ่งแวดล้อม: สังคมผู้สูงอายุ โรคเรื้อรัง สังคมเมือง ประชากรข้ามชาติ ปัญหามลพิษ พฤติกรรมของประชาชนที่ส่งผลให้เกิดความเสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคต่างๆ SDGs / ยุทธศาสตร์ชาติ /ยุทธศาสตร์กระทรวงสธ. / Thailand 4.0 3. การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวกับโรคและภัยสุขภาพ 4. การเปลี่ยนแปลงในระบบสุขภาพ และการบริหารจัดการระบบ โรคเกิดจากปัจจัยที่ซับซ้อน รุนแรงมากขึ้น โรคไร้พรมแดน ต้องอาศัยบูรณาการป้องกันควบคุมมากขึ้น โรคเฉพาะกลุ่ม Setting กำลังคน และบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ การปฏิรูประบบสุขภาพ ความเหลื่อมล้ำด้านสุขภาพ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค

10 แนวนโยบายเพื่อรับมือกับอนาคตที่ท้าทายของกรมควบคุมโรค
1. พัฒนาบทบาทการเป็นผู้อภิบาลระบบป้องกันควบคุมโรคของประเทศ 2. ใช้ยุทธศาสตร์เป็นเครื่องมือชี้การดำเนินงานและ นำสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม การผลักดันและบังคับใช้กฎหมาย นโยบาย ใหม่ๆ มาตรการ เทคโนโลยี องค์ความรู้ที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบและงานที่สำคัญ EOC/LAB/VAC/POE/IT CD/NCD/EN-Occ ฯ ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี ขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการ คร. 4.0 การวางกรอบทิศทาง ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายที่ชัดเจน การจัดทำแผนปฏิบัติการ/แผนงาน โครงการรองรับ การสนับสนุนทรัพยากร คน งบประมาณ มุ่งบรรลุวิสัยทัศน์ การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3. การมีส่วนร่วมภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน & ประชาชน การทำงานภาคีเครือข่าย สร้างความร่วมมือกับทุกภาคส่วน ประชาชน ครอบครัว ชุมชน รู้เท่าทันและป้องกันควบคุมโรคด้วยตนเอง กองแผนงาน กรมควบคุมโรค

11 PH Emergency management Manage, facilitate and coordinate
Infrastructure Manage, facilitate and coordinate Workforce Policy, Intervention & service Innovative Driven DDC4.0 กองแผนงาน กรมควบคุมโรค

12 ประเด็นยุทธศาสตร์ 20 ปี ด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ 20 ปี ด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ การพัฒนานโยบาย มาตรการและบริการด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข การยกระดับโครงสร้างพื้นฐานของระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ การปรับปรุงระบบบริหารจัดการและการพัฒนาความร่วมมือ การพัฒนากำลังคนด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

13 5 ประเด็นยุทธศาสตร์ 20 ปี เพื่อพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคแห่งชาติ
EOC 2. การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบจัดการภาวะฉุกเฉิน ด้านสาธารณสุข CD Care 1. การพัฒนานโยบาย มาตรการ และบริการ NCD Risk Communication ENV-OCC Point of Entry การทำงานร่วมกับหน่วยงานฝ่ายปกครองและความมั่นคง 5. การพัฒนากำลังคนด้านการ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ Need Recruit Training Maintain 3. การยกระดับโครงสร้างพื้นฐาน ของระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ประสานและพัฒนา ความร่วมมือ 4. การปรับปรุงระบบบริหารจัดการ และพัฒนาความร่วมมือ ระบบเฝ้าระวังและระบบข้อมูลสารสนเทศ ระบบวิจัยและ จัดการความรู้ ห้องปฏิบัติการทางสาธารณสุข ความร่วมมือระหว่างประเทศ ติดตามประเมินผล กองแผนงาน กรมควบคุมโรค

14 HEALTH 4.0 สู่ DDC 4.0 ( SMART DDC)

15 $ MOPH 4.0 กรอบการนำเสนอ Action Plan นวัตกรรม MOPH 4.0 ด้านสาธารณสุข
Value-Based Healthcare นวัตกรรม ที่เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ แผนงานที่ 10 $ แผนยุทธศาสตร์ 20 ปี กระทรวงสาธารณสุข Green Growth Engine Food Safety GREEN and CLEAN hospital Productive Growth Engine Health tech Medical tech. เครื่องมือ robotic Biotech Biomedical Herb Health Wellness (Medical Tourism) Inclusive Growth Engine Smart citizen เด็กไทย คนไทย4.0 PP&P ส่งเสริม ป้องกัน คุ้มครอง Service. คลินิกหมอครอบครัว PCC/Service plan Digital Health PHR/HIE/HDR MOPH 4.0 Action Plan Smart EOC กรมคร. 1 จังหวัด / เขต กรอบการนำเสนอ

16

17 แนวนโยบายการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 20 ปี
ด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

18 จุดเน้นกรมควบคุมโรค ปี 2561
โครงการตามพระราชดำริและโครงการเฉลิมพระเกียรติ : โรคพิษสุนัขบ้า/พยาธิใบไม้ในตับ/หนอนพยาธิในพื้นที่ถิ่นทุรกันดาร 2. บูรณาการยุทธศาสตร์ชาติ กระทรวง และ กรม : ช่วงวัย, ขยะและมลพิษ, SEZ, EEC, Digital, วิจัย และปราบปราม 3. แผนงานยุทธศาสตร์การควบคุมโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ : ATM/ควบคุมโรคในระดับภูมิภาคฯ 4. โครงการจุดเน้นตามภารกิจกรมฯ ยึดเป้าหมายการทำงานตาม ยุทธ์กรมฯ 20 ปี/DDC 4.0 พัฒนาทีม SAT /ระบบ EOC เกิดประสิทธิผลสูงสุดทุกจังหวัด เร่งรัดควบคุมวัณโรคและวัณโรคดื้อยา(MDR -TB) ควบคุมโรคปัจจัยเสี่ยงและโรค NCD เร่งรัดกำจัดลูกน้ำยุงลาย กองแผนงาน กรมควบคุมโรค

19 พัฒนาระบบ EOC : Action plan 5 years (2560 – 2564)
Final Goal: ประเทศไทยมีระบบจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขที่สามารถตอบโต้ทุกภัย อย่างรวดเร็ว เป็นระบบ มีความเป็นเอกภาพ มีประสิทธิภาพ และปลอดภัย ร้อยละของหน่วยงานมี EOC ที่มีคุณภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับนานาชาติ ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4 ปีที่ 5 ระดับเขต 50 % 75 % 100 % 100 % 100 % ระดับจังหวัด - 25 % 50 % 75 % 100 % จัดโครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์ พัฒนาทีมตระหนักรู้สถานการณ์ ทีมปฏิบัติการ และกลุ่มภารกิจอื่นๆ จัดทำ All hazards plan จัดทำ surge capacity plan และ business continuity plan ทำแผนจัดหาอุปกรณ์ ห้อง และเครื่องมือที่สำคัญและจำเป็น จัดทำและปรับปรุง SOP ซ้อมแผน

20 TB 4.0 : การดำเนินงานวัณโรค ปี 2560 - 2564 อุบัติการณ์วัณโรคลดลง
Final Goal : อัตราความสำเร็จการรักษาวัณโรคทุกประเภท ร้อยละ 90 ช่วยลด direct medical care cost ได้ไม่น้อยกว่า 3,000 ล้านบาท 171 ต่อแสน ปชก. เป้าหมายระดับประเทศ อุบัติการณ์วัณโรคลดลง ร้อยละ12.5 ต่อปี 88 ต่อแสน ปชก.

21 - New Look Strategy - Innovation - Digital Technology
NCD 4.0 : GOAL> ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดภาระโรคและตายก่อนวัยอันควร มาตรการลดการเข้าถึง ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อ มาตรการป้องกัน ระดับชุมชน มาตรการป้องกันควบคุม ในสถานบริการสาธารณสุข มาตรการด้านข้อมูล เฝ้าระวังสอบสวนโรค 1 2 3 4 เป้าหมาย ระดับประเทศระยะ 5 ปี ผู้ป่วย DM HT รายใหม่ลดลง (DM < 150,000 คน/HT< 350,000 คน) ผู้ป่วย DM HT ควบคุม ระดับน้ำตาลและความดันได้ดี DM = ≥ 40%/HT = ≥ 50% ผู้ป่วย DM HT ได้รับการคัดกรอง CVD Risk (≥ 90%) NCD 4.0 - New Look Strategy - Innovation - Digital Technology

22 โรคติดต่อนำโดยยุงลาย (พ.ศ.2560-2564)
Goal 5 ปี อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ≥ 30% ของค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี (พ.ศ ) อัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ≤ 0.07% จำนวนการติดเชื้อไวรัสซิกาในหญิงตั้งครรภ์ลดลง ≥ 50% จากปีก่อนหน้า KPI อำเภอเสี่ยงต่อการระบาด มีการใช้ผลพยากรณ์โรค จังหวัดที่พบผู้ป่วย Zika มีการเฝ้าระวังหญิงตั้งครรภ์ อำเภอเมือง มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ไม่เกินมาตรฐาน หน่วยบริการสาธารณสุขทุกระดับใช้ CGP Target สถานที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มอายุระหว่าง ปี (วัยเรียน, วัยรุ่น/วัยหนุ่มสาว) และ หญิงตั้งครรภ์ พื้นที่เป้าหมาย เขตเมือง 6ร : โรงเรือน โรงพยาบาล โรงเรียน โรงธรรม โรงแรม โรงงาน อำเภอเสี่ยง = 206 อำเภอ Activities ก่อน ระบาด มาตรการสำคัญ เพิ่มความเข้มแข็งระบบเฝ้าระวังโรค เร่งรัดการป้องกันและควบคุม การแพร่เชื้อโรค เพิ่มความเข้มแข็งระบบการดูแลรักษาผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชน พัฒนาระบบเฝ้าระวังโรค (ไข้เลือดออก/ ซิกา) ประเมินพื้นที่เสี่ยงตามรายงานพยากรณ์โรค จัดทำแผนปฏิบัติการในอำเภอเสี่ยงด้วย หลักการ IVM ร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่ ขับเคลื่อนแผนฯ ผ่าน คณะกรรมการโรคติดต่อระดับจังหวัด เตรียมความพร้อมระบบการรักษาและส่งต่อ รายงานสถานการณ์โรค ประเมินสถานการณ์โรค (ไข้เลือดออก/ ซิกา) สอบสวน และควบคุมโรค สนับสนุนการใช้มาตรการทางสังคม บริหารจัดการทรัพยากรในการควบคุมการระบาดผ่าน EOC สื่อสารความเสี่ยงให้แก่ประชาชน จัดระบบแพทย์ที่ปรึกษา สนับสนุนการตั้ง Dengue Corner ในสถานพยาบาล สรุปสถานการณ์โรค สรุปบทเรียนการป้องกันควบคุมโรค สร้าง/ ค้นหา ต้นแบบอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง สรุปบทเรียนการดูแลรักษาผู้ป่วย ช่วง หลัง การติดตาม ประเมินผล (M&E) และ การวิจัย นวัตกรรม (Innovation & Research)


ดาวน์โหลด ppt ด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ พ.ศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google