งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวคิดและแนวทางการดำเนินงาน ฟื้นฟูสมรรถภาพและการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวคิดและแนวทางการดำเนินงาน ฟื้นฟูสมรรถภาพและการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวคิดและแนวทางการดำเนินงาน ฟื้นฟูสมรรถภาพและการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ
Excellence CENTER) โรงพยาบาลศรีธัญญา

2

3

4 แนวคิดเกี่ยวกับการฟื้นสภาพจิตใจ
William Anthony อธิบายว่า โรคทางจิตเวชเป็นโรคเรื้อรังที่รักษาไม่ หายขาด จึงเป็นการยาก สำหรับคนที่ป่วยด้วยโรคนี้จะกลับไปสู่สภาพ เดิมเหมือก่อนป่วย จุดมุ่งหมายหลักในการบำบัดบุคคลที่ป่วยด้วย โรคนี้จึงเปลี่ยนจาก การรักษาอาการทางจิต มาเป็นการส่งเสริม ให้บุคคลมีการเรียนรู้ การเจ็บป่วย และจัดการตนเองเพื่อที่จะอยู่ ร่วมกับการเจ็บป่วย ทางจิตได้อย่างสร้างสรรค์

5 แนวคิดเกี่ยวกับการฟื้นสภาพจิตใจ
ค.ศ มีการเผยแพร่แนวคิดนี้ต่อสาธารณชน โดยอธิบายว่า “การฟื้นสภาพจากการ เจ็บป่วยทางจิตเป็นกระบวนการ ที่บุคคลปรับเปลี่ยนทัศนคติที่มีต่อตนเองและ การเจ็บป่วยทางจิต ตลอดจนมีการปรับเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิต เพื่อให้สามารถดำรงชีวิต อยู่ร่วมกับภาวการณ์เจ็บป่วยทางจิตได้โดยที่ เขาสามารถบรรลุเป้าหมาย อื่นๆ ของชีวิตแม้ว่าจะป่วยด้วยโรคทางจิตที่ รักษาไม่หายขาดก็ตาม” (Slade, Amering, & Oades, 2008)

6 การฟื้นสภาพจิตใจประกอบด้วย 6 ขั้นตอนหลัก
กิจกรรม ยอมรับการเจ็บป่วย ทำความเข้าใจและยอมรับสภาพการเจ็บป่วย สร้างหวัง ค้นหาเป้าหมายของการดำเนินชีวิต สร้างแรงปรารถนาที่จะมีสภาพชีวิตที่ดีขึ้น พัฒนาตัวตนใหม่ เห็นคุณค่าของตนเอง และมีความมั่นใจใน การดำ เนินชีวิตร่วมกับภาวะการเจ็บป่วยทางจิต สร้างความรับผิดชอบในตนเอง กำหนดหน้าที่รับผิดชอบด้วยตัวเองที่จะดำเนินชีวิตโดยไม่เป็นภาระแก่คนอื่น ต่อสู้อุปสรรคและปัญหา เอาชนะปัญหาที่เป็นผลกระทบจากการเจ็บป่วยทางจิต มีปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้าง พบปะหรือทำกิจกรรมร่วมกับคนรอบข้าง

7 บุคคลจะพัฒนากระบวนการฟื้นสภาพจิตใจ ขึ้นอยู่กับปัจจัย ดังนี้
ความหวัง (hope) การเข้าใจและยอมรับการเจ็บป่วย (understanding and accepting mental illness) ความสามารถทางปัญญา (cognitive ability) การรักษาด้วยยา (medication) ปัจจัยที่เกี่ยวกับการเจ็บป่วย (disorder related factor) แรงสนับสนุนทางสังคม (social support) ความรักความ เข้าใจ จากคนรอบข้าง เป็น สิ่งจำเป็นสำหรับบุคคลที่ป่วยด้วยโรคจิตเภท

8 การฟื้นคืนสู่สุขภาวะผู้ป่วยจิตเวช
การฟื้นฟูสมรรถภาพไม่เพียงแต่เป็นการ บำบัดรักษาเท่านั้น แต่จะครอบคลุมถึงเรื่องศักดิศรี การได้รับโอกาสและ สิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น การให้บริการจึงไม่สามารถทำได้เบ็ดเสร็จ ในหน่วยงานเดียว ต้องได้รับความร่วมมือจากหลายองค์กร

9 หลักคิด การดำเนินงานฟื้นคืนสู่สุขภาวะทั้งในโรงพยาบาล และในชุมชนดำเนินการ โดย สหวิชาชีพ มีการประเมินผู้ป่วย วางแผนเป็นระยะ ๆ ในหน่วยบริการมีการประสานภายนอกเพื่อเตรียม ชุมชนและสร้างเครือข่าย การดำเนินงานในชุมชน เน้นการสร้างเครือข่าย ใกล้บ้าน การจัดบริการรองรับในชุมชนเพื่อให้ PIR ได้รับ บริการอย่างต่อเนื่อง

10 กระบวนการ ปรับแนวคิดและทัศนคติของบุคลากร
ให้มองผู้ป่วยเป็น ผู้ที่เคยมีประสบการณ์ การเจ็บป่วยทางจิต และมีความบกพร่องที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต ในพื้นที่ 4 ด้าน ค้นหาความเข้มแข็งมากกว่าจะหาจุดอ่อน บทบาทการบริการ เน้นการสร้างเครือข่ายในชุมชน

11 ( life areas / environment )
พื้นที่ชีวิต ( life areas / environment ) การเรียน (learning) การทำงาน (working) การใช้ชีวิต (living) การเข้าสังคม (socicilizing)

12 กระบวนการ ปรับกิจกรรมการฟื้นคืนสู่สุขภาวะให้สอดคล้อง กับอาการ
สอดคล้องกับวิถีชีวิต มีการวิเคราะห์ว่าแต่ละกิจกรรมส่งผลต่อการฟื้น คืนสู่ สุขภาวะในด้านใดบ้าง ควรจะมีกิจกรรมหลากหลายให้ PIR ควรมี การประเมิน PIR เป็นระยะ เพื่อปรับเปลี่ยนกิจกรรมที่ เหมาะสมสุขภาวะ วางระบบอย่างต่อเนื่อง

13 วิธีการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ
หลักการ ฝึกให้ผู้รับบริการมีทักษะด้านพฤติกรรมใน การปรับปรุง การปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทได้ดีขึ้น การจัดหาการสนับสนุนจากสังคม ตามความ ต้องการ

14 ค้นหาความหมายในชีวิต ทบทวนหน้าที่/บทบาทตนเอง
กุญแจสำคัญในการถอดรหัสการฟื้นพลังชีวิต ถอดรหัส การฟื้น พลังชีวิต กระตุ้นให้เกิด ความรับผิดชอบ ค้นหาความหมายในชีวิต ทบทวนหน้าที่/บทบาทตนเอง ค้นหาความหวัง

15 การฟื้นคืนสู่สุขภาวะเป็นการเดินทางของบุคคล
Recovery ไม่ใช้สิ่งที่เราจัดหาให้. ถูกกำหนดโดยผู้รับบริการภายใต้ บริบทของเขา ผู้ให้บริการเป็นเพียงพี่เลี้ยงที่คอย ประคับประคองอยู่ข้างๆ

16 ขั้นตอนการให้บริการการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ
Diagnosis Planning Intervention

17 D Person สรุปกระบวนการวินิจฉัย Practitioner ไม่พร้อม พัฒนาความพร้อม
ประเมินความพร้อม (5 Factors) D Recovery Model Change Process พร้อม (Motivation Readiness) กำหนดเป้าหมาย (Specific goal) ประเมิน skill ประเมิน Resource Comprehensive by skill type & Environment Comprehensive by type of resource Behavior Defined Resource Defined Planning Process

18 Defined resource objective กำหนด ระยะเวลาของแต่ละทักษะ intervention
กระบวนการวางแผน ข้อมูลจากการวินิจฉัย People  Practitioner จัดลำดับความสำคัญ ของทักษะ จัดลำดับความสำคัญ ของแหล่งสนับสนุน กำหนดวัตถุประสงค์ ของทักษะที่จะพัฒนา Defined resource objective P กำหนดวิธีการ พัฒนาทักษะ กำหนดแล่งสนับสนุน ในการพัฒนาทักษะ กำหนด ระยะเวลาของแต่ละทักษะ intervention กำหนดผู้รับผิดชอบ Intervention process

19 I Intervention Proess Intervention Resource development Skill (goal)
People  Practitioner Intervention Skill development Resource development Resource coved nation Skill (goal) I Dentine Goal and Alternative resource Resource modification Skill objective Lesson Prepared Specific skill intervention Resource Appraisal Skill use programme defined กำหนด time line Resource improvement Plan for finking Skill learning monitor Service coordination (referral /linking technique) Plan for Utilization

20 แนวคิด ROS Recovery Oriented Systems Recovery Oriented Services
การพัฒนาสมรรถภาพบุคลากร เพื่อการฟื้นฟู (ความรู้ /skill) พัฒนาระบบการนำกระบวนการฟื้นฟูสู่ผู้ป่วย ผลิต/พัฒนา/เผยแพร่ เทคโนโลยี ด้านการฟื้นฟู ระบบ/โครงการส่งเสริมการฟื้นฟู ระดับ 1 – Everyone ระดับ Rehabilitation focus ระดับ 3 - Providing Rehabilitation -ผู้ป่วยใน/นอก ศูนย์การฟื้นฟู โปรแกรมการฟื้นฟู For trainer For Practitioner -Anti-stigma Project

21 Impairment Dysfunction Disability Disadvantage “Recovery”

22 ได้รับการฝึกทักษะ ความสัมพันธ์+ve Recovery ได้รับการสนับสนุน
Goal ที่ได้กำหนดเอง มีความหวัง สู่อนาคต ได้รับการฝึกทักษะ เชื่อในความ สามารถของตน Recovery ได้รับการสนับสนุน (Process)

23 ขั้นตอนการฟื้นฟูสมรรถภาพตามกรอบแนวคิดการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ


ดาวน์โหลด ppt แนวคิดและแนวทางการดำเนินงาน ฟื้นฟูสมรรถภาพและการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google