งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระเบียบวิธีการวิจัยระเบียบวิธีการวิจัย ธีระวุฒิ ดำ รักษ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระเบียบวิธีการวิจัยระเบียบวิธีการวิจัย ธีระวุฒิ ดำ รักษ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระเบียบวิธีการวิจัยระเบียบวิธีการวิจัย ธีระวุฒิ ดำ รักษ์

2 สาระสำคัญของการวิจัย หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย หน่วยที่ 2 กระบวนการ/ขั้นตอนการวิจัย - การเตรียมการ - การออกแบบการวิจัย - ประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง - เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล - เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล หน่วยที่ 3 สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิจัย หน่วยที่ 4 การเขียนรายงานการวิจัย

3 1.ความหมายการวิจัย 2.การแสวงหาความรู้ของมนุษย์ 3.วัตถุประสงค์การวิจัย 4.ประเภทของารวิจัย 5.ลักษณการวิจัยที่ดี 6.ประโยชน์ของการวิจัย 7.คุณลักษณะของนักวิจัย 8.การวิจัยกับการค้นพบ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิจัย

4 ความหมาย สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ : สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ : การวิจัย คือกระบวนการต่าง ๆที่ดำเนินการไป อย่างมีระเบียบกฎเกณฑ์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบอัน ถูกต้องต่อปัญหาหรือคำถามที่ตั้งไว้ ศาสตราจารย์ ดร.สุภางค์ จันทวานิช : ศาสตราจารย์ ดร.สุภางค์ จันทวานิช : การวิจัย คือ การค้นหาข้อเท็จจริง เพื่อนำมาตอบปัญหาที่ตั้งไว้ นิศา ชูโต : นิศา ชูโต : สรุปว่า การวิจัยเป็นวิถีทางในการสืบค้น หาความรู้ ความจริง เพื่อขยายองค์ความรู้ ค้นหา คำอธิบาย คำอธิบาย ตรวจสอบจนกระทั่งสามารถสรุปเป็นกฎเกณฑ์ ทฤษฎีใหม่ ๆได้ เป็นวิธีที่เชื่อถือได้ เป็นวิธีที่เชื่อถือได้ วิธีวิจัยดังกล่าวจะต้องยอมรับว่า กิจกรรมการวิจัยจึงเป็น ที่ ยอมรับในการค้นหาความจริงเป็นที่ยอมรับในการค้นหา ความจริง ความจริง เป็นกิจกรรมที่เป็นระบบเรียกชื่อกันในวงวิชาการว่า กระบวนการที่ เป็นวิทยาศาสตร์

5 การวิจัย ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Research โดยมีผู้ให้ ความหมายไว้ดังนี้ การวิจัย ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Research โดยมีผู้ให้ ความหมายไว้ดังนี้ R = Recruitment & Relationships หมายถึง การฝึก คนให้มีความรู้ การปฏิบัติงานร่วมกัน รวมทั้งการติดต่อประสานงาน กัน E = Education & Efficiency หมายถึง ผู้วิจัยต้องมีการศึกษา มีความรู้และสมรรถภาพสูงในการวิจัย E = Education & Efficiency หมายถึง ผู้วิจัยต้องมีการศึกษา มีความรู้และสมรรถภาพสูงในการวิจัย S = Sciences & Stimulation หมายถึง การ วิจัยเป็นศาสตร์ที่ต้องพิสูจน์ เพื่อค้นหาความจริง มีความคิดริเริ่มมี ความกระตือรือร้นในการวิจัย 24/09/595

6 E = Evaluation & Environment หมายถึง ผู้วิจัยต้องประเมินผลดูว่ามีประโยชน์จะต้องทำต่อไป หรือไม่ ต้องรู้จักเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ในการวิจัย A = Aim & Attitude หมายถึง มีจุดหมายหรือ เป้าหมายที่แน่นอนมีทัศนคติที่ต้องติดตามผลของการ วิจัย R = Result หมายถึง ผลการวิจัยที่ได้มา ต้อง ยอมรับเพราะผลที่ได้นั้นมาจากการค้นคว้าอย่างมีระบบ C = Curiosity หมายถึง ผู้วิจัยมีความอยากรู้อยาก เห็น มีความขวนขวายในงานวิจัยอยู่ตลอดเวลา C = Curiosity หมายถึง ผู้วิจัยมีความอยากรู้อยาก เห็น มีความขวนขวายในงานวิจัยอยู่ตลอดเวลา H = Horizon หมายถึง เมื่อผลการวิจัยปรากฏ มาแล้ว ทำให้ทราบและเข้าใจในปัญหาเหล่านั้นได้

7 สรุปความหมาย “ การวิจัย ” การวิจัย การวิจัย คือวิธีการ แสวงหาความรู้ความ จริงที่ใช้กระบวนการอย่างเป็นระบบเชื่อถือ ได้ คือกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

8 การแสวงหาความรู้ความจริงของมนุษย์ 1. สมัยโบราณ 2. การอนุมาน (Deductive ) 3. การอุปมาน ( Inductive) 4. วิธีการของ จอห์น สจ๊วต มิลล์ (Mill”s Mathod) 5. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ( Science Mathod)

9 สมัยโบราณ By Chance By Tradition By Authority By Personal Experince By Trial and Erer By Expert By Chance By Tradition By Authority By Personal Experince By Trial and Erer By Expert

10 การอนุมาน ( Deductive ) 1.Major Premise 2.Miner Premise 3.Conclusion

11 การอุปมาน ( Induction ) 1.การรวบรวมข้อมูลหรือข้อเท็จจริง 2.การวิเคราะห์ข้อมูล 3.การสรุปผล 1.การรวบรวมข้อมูลหรือข้อเท็จจริง 2.การวิเคราะห์ข้อมูล 3.การสรุปผล

12 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ระบุปัญหา สมมุติฐาน เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล ตีความหมายข้อมูล สรุปผล

13 วัตถุประสงค์การวิจัย 1.เพื่อแก้ปัญหา ( Problem solving) 2. เพื่อสร้างทฤษฎีใหม่ ( Theory Developing) 3. เพื่อพิสูจน์ทฤษฎี (Theory Testing)

14 จุดมุ่งหมายการวิจัยจุดมุ่งหมายการวิจัย 1.Description 2.Explanation 3.Prediction 4.Control 5.Development

15 ประโยชน์ของการวิจัยประโยชน์ของการวิจัย 1.ช่วยเพิ่มพูนความรู้ความจริง 2. ขจัดข้อสงสัยต่างๆ 3. เกิดเครื่องมือและเทคโนโลยีใหม่ๆ 4. ผลจากการวิจัยอำนวยความสะดวก ในการดำเนินชีวิต 5. ปฎิบัติงานมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล

16 ประเด็นสำคัญที่เกี่ยวกับการวิจัย 1.การวิจัยอาจกระทำได้ในหลายสถานการณ์ ไม่จำเป็นจะต้องมีการ ทดลองและพิสูจน์ในห้องทดลองเท่านั้น 2. การวิจัยอาจกระทำได้แม้ในเรื่องเล็กน้อย 3. การวิจัยในบางเรื่องบางกรณีไม่จำเป็นจะต้องใช้ แบบสอบถามหรือการสัมภาษณ์ 4. การวิจัยเป็นเรื่องที่ผู้วิจัยสามารถค้นหาข้อเท็จจริงโดยอาศัย กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และผู้วิจัยจะต้องแปลผลไปตามนั้น ไม่ใส่อคติส่วนตัว 5. การวิจัยไม่จำเป็นจะต้องมีตาราง กราฟ และตัวเลขที่ได้จากการ วิเคราะห์ทางสถิติขั้นสูงเสมอไป

17 คุณลักษณะที่จำเป็นสำหรับนักวิจัย 1. มีความรู้พื้นฐานในสาขาวิชาที่ทำการวิจัยเป็นอย่างดี 2. มีความรอบรู้ในสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย 3. มีความอยากรู้อยากเห็น 4. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 5. มีความอดทนเมื่อผจญกับอุปสรรคและความล้มเหลว 6. มีความกล้าที่จะตัดสินใจ 7. มีความสามารถในการบังคับตนเอง

18 ประเภทของการวิจัย 1. จำแนกตามประโยชน์ที่จะได้รับจากการวิจัย 2. จำแนกตามจุดมุ่งหมายของการวิจัย 3. จำแนกตามกระบวนการเก็บข้อมูล หรือ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 4. จำแนกตามคุณลักษณะของข้อมูล

19 1. จำแนกตามประโยชน์ที่จะ ได้รับจากการวิจัย 1.การวิจัยพื้นฐาน (basic research) 2.การวิจัยประยุกต์ (applied research) 3.การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (action research หรือ operational research)

20 2. จำแนกตามจุดมุ่งหมาย ของการวิจัย 1. การวิจัยเพื่อศึกษาข้อมูลเบื้องต้น (exploratory research) (exploratory research) 2. การวิจัยเชิงพรรณนา (descriptive research) (descriptive research) 3. การวิจัยเชิงอรรถาธิบาย 3. การวิจัยเชิงอรรถาธิบาย (explanatory research) (explanatory research) 4. การวิจัยเชิงคาดการณ์ (predictive research ) (predictive research )

21 3. จำแนกตามกระบวนการเก็บข้อมูล 3. จำแนกตามกระบวนการเก็บข้อมูล หรือ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล หรือ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 1. การวิจัยเอกสาร(documentary research) 2. การวิจัยเชิงสังเกต (observational research) 3. การวิจัยเชิงสำรวจ(survey research) 3. การวิจัยเชิงสำรวจ(survey research) 4. การวิจัยเชิงทดลอง(experimental research)

22 4. จำแนกตามคุณลักษณะของข้อมูล 1.การวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) 2.การวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research)

23 1. มุ่งที่จะค้นหาสิ่งใหม่ 2. มุ่งจะแก้ปัญหา 3. มีวิธีการที่ดีมีจุดมุ่งหมาย 4. บรรยายข้อมูลถูกต้องแม่นยำ 5. มีความเป็นปรนัยมีเหตุผล 6. เชื่อถือได้ 7. ซื่อสัตย์ไม่มีอคติ 8. บันทึกข้อมูลและเขียนรายงาน อย่างระมัดระวัง 9. เผยแพร่เพื่อประโยชน์ ของส่วนรวม ลักษณะการวิจัยที่ดี

24 วิธีการของจอห์น สจ๊วต มิลล์ 1.วิธีการของความสอดคล้อง 2.วิธีการของความแตกต่าง 3.วิธีการของความสอดคล้องและ ความไม่สอดคล้อง 4.วิธีการของส่วนที่เหลือ 5.วิธีการของการแปรผันร่วม

25 การวิจัย กับ การค้นพบ Research - เป็นการ : แสวงหาความรู้ ความจริง หรือ สิ่งประดิษฐ์คิดค้นใหม่ ๆ สิ่งประดิษฐ์คิดค้นใหม่ ๆ - ใช้วิธีที่เป็นระบบเชื่อถือได้ - ตั้งจุดมุ่งหมายไว้ก่อน

26 Discovery: - เกิดขึ้นโดยบังเอิญ ไม่ได้ตั้งใจ - ไม่มีระบบและวิธีการที่ถูกต้อง

27 กระบวนการ ขั้นตอนการวิจัย กระบวนการ ขั้นตอนการวิจัย ธีระวุฒิ ดำรักษ์ หน่ว ยที่ 2

28 1. ขั้นเตรียมการ 1. ขั้นเตรียมการ ขั้นตอน การวิจัย 2. ขั้นออกแบบ 2. ขั้นออกแบบ 3. ขั้นดำเนินการวิจัย 3. ขั้นดำเนินการวิจัย 4. ขั้นเสนอผลการวิจัย 4. ขั้นเสนอผลการวิจัย

29 พิจารณาหัวข้อวิจัย หาหัวข้อวิจัย ศึกษาค้นคว้าเอกสาร และผลงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง 1.ขั้น เตรียมการ ขั้นตอน การวิจัย

30 หาหัวข้อวิจัยหาหัวข้อวิจัย © สนใจเรื่องอะไร ? © ทำไมต้องวิจัย ? © ทฤษฎีและหลักการอะไร สนับสนุน ? สนับสนุน ? © สรุปว่าหัวข้อวิจัยคืออะไร ?

31 ศึกษาค้นคว้าเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องศึกษาค้นคว้าเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้วิจัยมองเห็น วิวัฒนาการของความรู้ หรือทฤษฎีนั้น ๆ ว่ามี พัฒนาการมาอย่างไร ใคร เป็นคนต้นคิด มีใคร ตรวจสอบวิจัยมาบ้างแล้ว มีตัวแปรใดบ้างที่เข้ามา เกี่ยวข้องแบบแผน การวิจัยทั่ว ๆ ไปเป็น เช่นใด ฯลฯ จะช่วยให้ ผู้วิจัยมองเห็นปัญหาแจ่ม ชัดขึ้น เพื่อให้ผู้วิจัยมองเห็น วิวัฒนาการของความรู้ หรือทฤษฎีนั้น ๆ ว่ามี พัฒนาการมาอย่างไร ใคร เป็นคนต้นคิด มีใคร ตรวจสอบวิจัยมาบ้างแล้ว มีตัวแปรใดบ้างที่เข้ามา เกี่ยวข้องแบบแผน การวิจัยทั่ว ๆ ไปเป็น เช่นใด ฯลฯ จะช่วยให้ ผู้วิจัยมองเห็นปัญหาแจ่ม ชัดขึ้น

32 1.ความสนใจของตัวผู้วิจัย 2.ความสำคัญของเรื่องที่ทำวิจัย 2.ความสำคัญของเรื่องที่ทำวิจัย 3. ความเป็นไปได้ในการวิจัย 4. ระยะเวลาที่ทำการวิจัย 5. วิธีการหรือระเบียบวิธีการวิจัย 6.หลักเกณฑ์และแหล่งทุนที่ ขอสนับสนุน ขอสนับสนุน การพิจารณา หัวข้อเรื่อง วิจัย

33 2.ขั้น ออกแบบ กำหนดประเด็นปัญหา กำหนดวัตถุประสงค์ กำหนดขอบเขตที่ ต้องการ สร้างเครื่องมือวิจัย

34 1. กำหนด ประเด็นปัญหา ปัญหาการวิจัยเป็นข้อ สงสัย หรือสิ่งที่ยังไม่ กระจ่างชัด ในคำตอบ หรือสิ่งที่เกิดความสงสัย อยากรู้ในข้อเท็จจริง นำไปสู่การหาคำตอบ และคำอธิบายที่ชัดเจน เป็นจุดเริ่มต้นของการ วิจัย

35 1. ควรทราบถึงความต้องการของตัวเองเสียก่อนว่ามีความสนใจในหัวข้อ อะไร หรือประเด็นใด 2. ควรเป็นหัวข้อหรือเรื่องที่อยู่ในสาขาของตนเองหรือมีควมรู้ในเรื่องนั้นดี 3. เรื่องที่จะทำการวิจัยนั้น ผู้วิจัยต้องสำรวจก่อนว่ามีเอกสารหรืองานวิจัย รองรับหรือไม่ 4. ไม่ควรเลือกหัวข้อที่ยากหรือเพ้อฝันมากเกินไป 5. เป็นหัวข้อที่ทันต่อเหตุการณ์ ทันสมัย มีคุณค่าเป็นที่สนใจของคนทั่วไป 6. ควรเป็นหัวข้อที่เป็นประโยชน์ต่อบุคคล สถาบันหรือเป็นประโยชน์ต่อ ส่วนรวมต่อประเทศชาติ 7. ในการเลือกหัวข้อทำวิจัยควรคำนึงงบประมาณหรือค่าใช้จ่ายที่ทำการวิจัย 8. ควรเป็นหัวข้อที่ก่อให้เกิดความรู้ใหม่ๆในสาขาที่ตนเองอยู่ หรือสาขาอื่นๆ หลักเกณฑ์ในการเลือกหัวข้อในการทำวิจัย

36 1.ชื่อปัญหาควรกะทัดรัดและมีความชัดเจนในความหมายใน ตัวของมันเอง สามารถสื่อให้ผู้อ่านทราบประเด็นสำคัญว่า ศึกษากับใคร 2.ชื่อหัวข้อปัญหาที่ดีจะต้องแสดงถึงมโนภาพ (Concept)ของตัวแปรหรือความสัมพันธ์ของตัวแปร 3.ภาษาที่ใช้ในการเขียนจะต้องชัดเจน อ่านเข้าใจ ถ้ามี ศัพท์เทคนิคต้องเป็นศัพท์ที่เป็นที่ยอมรับในสาขานั้นๆ 4. การตั้งชื่อหัวข้อปัญหาจะต้องระวังไม่ซ้ำซ้อนกับผู้อื่น แม้ว่าประเด็นที่ศึกษานั้นจะคล้ายกันก็ตาม การตั้งชื่อหัวข้อปัญหาการวิจัย

37 1. ศึกษาเรื่องที่เกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษา 2. เป็นประเด็นที่น่าสนใจ 3. เลือกปัญหาใหม่ไม่ซ้ำกับปัญหาเดิมที่มีผู้วิจัยไว้แล้ว 4. กำหนดขอบเขตของปัญหาให้ชัดเจน 5. ใช้ภาษาที่เป็นทางวิชาการ ไม่ใช่ภาษาพูด มีความกะทัดรัด และใช้คำถูกต้อง 6. ไม่ยืดยาวจนน่าเบื่อหน่าย 7. มีข้อมูลอ้างอิงทำให้น่าเชื่อถือ 8. จัดลำดับประเด็นปัญหาให้เป็นขั้นตอนต่อเนื่องกัน 9. ผลการวิจัยสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง 10. อยู่ในวิสัยที่ผู้วิจัยสามารถที่จะทำได้ทั้งในแง่ของเวลา และค่าใช้จ่าย หลักการกำหนดปัญหาการวิจัย

38 1.จากการอ่านเอกสาร ได้ตำรา บทความต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ ผู้วิจัยสนใจ โดยเฉพาะทฤษฎี 2. จากงานวิจัยที่ผู้อื่นทำไว้แล้ว เช่น วารสารการวิจัย และปริญญานิพนธ์ หรือวิทยานิพนธ์ ซึ่งจะมีข้อเสนอแนะสำหรับการทำวิจัยในครั้งต่อไป 3.จากการอ่านบทคัดย่อปริญญานิพนธ์ หรือบทคัดย่อรายงานการวิจัยที่ได้ รวบรวมไว้เป็นเล่มของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ 4. จากข้อเสนอแนะหรือข้อคิดของผู้รู้ ผู้ชำนาญ ในเรื่องที่ตนสนใจ 5. จากข้อโต้แย้ง หรือวิพากษ์วิจารณ์ของบุคคลในวงการที่เราสนใจ 6.จากการจัดสัมมนา และอภิปรายปัญหาต่างๆ ในเรื่องที่ผู้วิจัยสนใจอยู่ใน ขณะนั้น 7. ศึกษาปัญหาจากสถาบันหรือหน่วยงานที่ตนเองทำงานอยู่ 8. ศึกษาจากหน่วยงานที่ให้ทุนสนับสนุนการวิจัย ซึ่งมักจะมีกรอบสำหรับ การทำวิจัยไว้ให้ แหล่งที่มาของของปัญหา

39 สมมติฐานการวิจัย Research Hypothesis คือ คำตอบที่คาดการณ์ล่วงหน้าอย่างสมเหตุสมผลต่อปัญหาที่ศึกษา และเขียนอยู่ในลักษณะของข้อความที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัว แปรตั้งแต่ 2ตัวขึ้นไป คำตอบนี้จะถูกต้องหรือไม่ต้องทดสอบโดยข้อมูล และวิธีการทางสถิติ ประเภทของสมมติฐาน

40 1.สมมติฐานทางการวิจัย (Research hypothesis) เป็นสมมติฐานที่เขียนอยู่ในรูปของข้อความที่ใช้ภาษาเป็นสื่อในการอธิบาย ความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ศึกษา มี 2 ลักษณะ 1.1 สมมติฐานแบบมีทิศทาง(Directional hypothesis) 1.2 สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง (Nondirectional hypothesis) 2. สมมติฐานทางสถิติ (Statistical hypothesis) เป็นสมติฐานที่เขียนเปลี่ยนรูปมาจากสมมติฐานทางวิจัยในรูปของโครงสร้างทาง คณิตศาสตร์ โดยใช้สัญลักษณ์ที่แทนคุณลักษณะของประชากรที่เรียกค่า พารามิเตอร์ (Parameter) มาเขียนอธิบายความสัมพันธ์ของตัวแปรหรืออธิบายความแตกต่างระหว่างกลุ่ม มี 2 ลักษณะ 2.1 สมมติฐานกลาง/สมติฐานไร้นัยสำคัญ (Null hypothesis : H0) 2.2 สมมติฐานไม่เป็นกลาง/สมติฐานทางเลือก(Alternative hypothesis : H1)

41 1. สมมติฐานที่ดีต้องอธิบายหรือตอบคำถามได้หมด 2. สมมติฐานที่ดี แต่ละข้อควรใช้ตอบคำถามเพียงข้อเดียวหรือประเด็นเดียว นั่นคือ ถ้ามีหลายตัวแปร หรือหลายประเด็นควรแยกเขียนเป็นสมมติฐาน ย่อยๆ 3. สมมติฐานที่ดีต้องสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย 4. สมมติฐานที่ดีต้องสอดคล้องกับสภาพที่เป็นจริงเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป 5. สมมติฐานที่ดีต้องสมเหตุสมผลตามทฤษฎีและความรู้พื้นฐาน 6. สมมติฐานที่ดีต้องเขียนด้วยถ้อยคำที่อ่านเข้าใจง่ายและมีความชัดเจน ภายใน ตัวของมันเอง 7. สมมติฐานที่ดีต้องสามารถตรวจสอบได้ สมมติฐานที่ดีไม่จำเป็นต้องถูกต้อง เสมอไป 8. สมมติฐานที่ดีควรมีอำนาจพยากรณ์สูง ลักษณะของสมมติฐานที่ดี

42 2. กำหนด วัตถุประสงค์ 2. กำหนด วัตถุประสงค์ เป็นการแสดงให้ทราบ ว่าผู้วิจัยต้องการค้นหา คำตอบอะไร และต้อง สอดคล้องกับปัญหาการ วิจัยและหัวข้อการวิจัย เป็นการแสดงให้ทราบ ว่าผู้วิจัยต้องการค้นหา คำตอบอะไร และต้อง สอดคล้องกับปัญหาการ วิจัยและหัวข้อการวิจัย

43 ต้องสอดคล้องกับชื่อเรื่องที่จะวิจัยวัตถุประสงค์การวิจัยจะ เป็นแนวทางให้ทราบว่า จะศึกษาอะไร วิเคราะห์ข้อมูล และข้อเสนอผลการวิจัยอย่างไร การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย ควรเขียนเป็นข้อ ๆ เพื่อความชัดเจนซึ่งโดยปกติมักจะขึ้นต้นด้วยคำว่า “ เพื่อ “ แล้วตามข้อความที่บ่งบอกถึง “ กิจกรรม” ที่ผู้วิจัย ต้องทำ เช่น คำว่า ศึกษา สำรวจ เปรียบเทียบหา ความสัมพันธ์ ประมวล เป็นต้น การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย

44 3. กำหนดขอบเขต ที่ต้องการ ผุ้วิจัยจะศึกษาค้นคว้า อยู่ในขอบเขตแค่ไหน เป็น กรอบของการวิจัย ในด้านเนื้อหาสาระ ซึ่ง ประกอบด้วยตัวแปร ต่างๆ ที่ต้องการศึกษา และการระบุ ความสัมพันธ์ระหว่างตัว แปรที่ต้องการศึกษา เหล่านั้น เพื่อหาคำตอบ ในการวิจัย

45 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง Population and Samples ประชากร(Population) หมายถึง กลุ่มของสิ่งต่างๆทั้งหมดที่ ผู้วิจัยสนใจ ซึ่งอาจเป็นกลุ่มของสิ่งของ คน หรือเหตุการณ์ต่างๆ กลุ่มตัวอย่างกลุ่ม(Sample)หมายถึง เป็นส่วนหนึ่งของ ประชากรที่ผู้วิจัยสนใจ กลุ่มตัวอย่างที่ดีหมายถึงกลุ่มตัวอย่างที่มี ลักษณะต่างๆที่สำคัญครบถ้วนเหมือนกับกลุ่มประชากร เป็นตัว แทนที่ดีของกลุ่มประชากรได้

46 1. กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้เกณฑ์ จำนวนประชากรหลักร้อยใช้กลุ่มตัวอย่าง 15 – 30% จำนวนประชากรหลักพันใช้กลุ่มตัวอย่าง 10 – 15% จำนวนประชากรหลักหมื่นใช้กลุ่มตัวอย่าง 5 – 10 % 2.ใช้สูตรคำนวณ 2.1 กรณีไม่ทราบค่าพารามิเตอร์ ไม่ทราบจำนวนประชากร ทราบเพียงแต่ว่ามีจำนวนมาก 2.2 กรณีที่ทราบจำนวนประชากรและมีจำนวนไม่มาก 3.กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของ Krejcie and Morgan การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง

47 กำหนด/นิยามประชากรเป้าหมาย รวบรวมสมาชิกทั้งหมดของประชากร กำหนดหน่วยของการสุ่มตัวอย่าง วางแผนการเลือกกลุ่มตัวอย่าง ทำการเลือกกลุ่มตัวอย่าง ขั้นตอนการเลือกกลุ่มตัวอย่าง

48 1. กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้เกณฑ์ จำนวนประชากรหลักร้อยใช้กลุ่มตัวอย่าง 15 – 30% จำนวนประชากรหลักพันใช้กลุ่มตัวอย่าง 10 – 15% จำนวนประชากรหลักหมื่นใช้กลุ่มตัวอย่าง 5 – 10 % 2.ใช้สูตรคำนวณ 2.1 กรณีไม่ทราบค่าพารามิเตอร์ ไม่ทราบจำนวนประชากร ทราบเพียงแต่ว่ามีจำนวนมาก 2.2 กรณีที่ทราบจำนวนประชากรและมีจำนวนไม่มาก 3.กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของ Krejcie and Morgan การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง

49 ตัวแปรสำหรับการวิจัย Variables ตัวแปร (Variables) หมายถึงคุณสมบัติหรือคุณลักษณะของสิ่งต่างๆ ซึ่งอาจเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้ ตัวแปร Concept หมายถึง ตัวแปรที่แสดงความหมายในลักษณะของ คนทั่วไปรับรู้ได้ตรงกันหรือสอดคล้องกัน เป็นตัวแปรที่เป็นรูปธรรม เช่น เพศ อายุ ความสูง เชื้อชาติ อาชีพ ระดับการศึกษาเป็นต้น ตัวแปร Construct หมายถึง ตัวแปรที่แสดงความหมายในลักษณะ เฉพาะตัวบุคคล คนทั่วไปอาจรับรู้ได้ตรงกันหรือไม่ก็ได้ มักเป็นนามธรรม เช่น ความวิตกกังวล ทัศนคติ ความเป็นผู้นำ แรงจูงใจ เป็นต้น

50 การคัดเลือก ( Selection ) การคัดเลือก ( Selection ) การวัด ( Measurement ) การวัด ( Measurement ) การควบคุม ( Controlling ) การควบคุม ( Controlling ) หัวข้อวิจัย ( Research Topic ) หัวข้อวิจัย ( Research Topic ) สมมติฐาน ( Hypothese s ) สมมติฐาน (Hypotheses ) สมมติฐาน (Hypotheses ) ประเด็นปัญหาการวิจัย ( Statement of the research problem ) ประเด็นปัญหาการวิจัย ( Statement of the research problem ) ตัวแปร ( Variables ) ตัวแปร ( Variables ) ความรู้ที่มี่อยู่ (Existing Knowledge) ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ( Relevant Theory )

51 ข้อตกลงเบื้องต้นและข้อจำกัดในการวิจัย ( Assunption and Limitation of the study ) บางครั้งผู้วิจัยจำเป็นต้องกำหนดข้อตกลงเบื้องต้นของการวิจัยไว้ก่อน ว่าในการวิจัยของตนมีอะไรบ้างที่เชื่อว่าเป็นไปได้ ซึ่งอาจจะเป็นสิ่งที่ เป็นจริงตามธรรมชาติ หรือสถานการณ์ที่เป็นอยู่ ผู้วิจัยต้องมีเหตุผล รองรับข้อตกลงเบื้องต้น ข้อตกลงเบื้องต้นเป็นสิ่งที่ไม่ต้องพิสูจน์ แต่จำเป็นต้องให้ เข้าใจตรงกัน โดยปกติถ้าผู้วิจัยออกแบบการวิจัยดีๆ ก็ไม่จำเป็นต้องมี ข้อตกลงเบื้องต้นก็ได้ งานวิจัยในแต่ละเรื่องไม่จำเป็นต้องเหมือนกัน ขึ้นอยู่กับกรอบแนวคิดการวิจัย

52 การนิยามศัพท์เฉพาะ Definition of Terms เป็นการนิยามคำศัพท์ที่เป็นสำคัญที่ผู้วิจัยใช้ในความหมาย เฉพาะสำหรับงานวิจัยของตน หากเป็นคำศัพท์ซึ่งเป็นคำที่มี ความหมายเข้าใจตรงกันโดยทั่วไป และในงานวิจัยก็ไม่ได้ใช้ใน ความหมายที่ต่างออกไป คำศัพท์นั้นไม่ต้องนำมานิยาม

53 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย (Research Instrument)  ในการดำเนินการวิจัย ผู้วิจัยจะต้องดำเนินการเก็บรวบรวม ข้อมูลในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เพื่อทำการวิเคราะห์หา คำตอบ วิธีการที่จะเก็บรวมรวมข้อมูลได้ ต้องใช้เครื่องมือ รวบรวม ซึ่งเรียกว่า เครื่องมือในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยทางด้านสังคมศาสตร์ แบ่งได้หลายประเภท ตาม จุดมุ่งหมายของการวิจัย แต่ที่รู้จักโดยทั่วไปมีด้วยกันหลาย รูปแบบ ในการเลือกเครื่องมือควรเลือกให้สอดคล้องกับตัว แปร (Variable) ที่ต้องการวัด หรือเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ของการวิจัย นอกจากนี้เครื่องมือที่นำไปวัดนั้น ต้องมีความ เชื่อถือได้ (Reliability) และมีความเที่ยงตรง (Validity)

54 1. กำหนดสิ่งที่ต้องการวัด 2. นิยามสิ่งที่ต้องการวัด 3. เลือกเครื่องมือวิจัยและวิธีการเก็บ รวบรวมข้อมูล 4. เขียนคำถาม/คำตอบตามประเด็น และจำนวนข้อที่กำหนดไว้ 5. พิจารณาทบทวนแบบสอบถาม ก่อนที่จะนำไปทดลองใช้ 6. นำแบบสอบถามไปทดลองใช้และ วิเคราะห์คุณภาพ 7. จัดทำแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ สร้าง เครื่องมือวิจัย

55 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย (Research Instrument)

56 ชนิดของเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล 1.แบบสอบถาม (Questionnair) 2.แบบทดสอบ (Test) 3.แบบวัดเจตคติ (Attitude scaies 4.แบบสังเกตุ (Observation form) 5.แบบสัมภาษณ์ (Interview form)

57 1 แบบสอบถาม (Questionnair) แบบสอบถาม (Questionnair) แบบสอบถามปลายเปิด Open ende Questionnaire แบบสอบถามปลายปิด Close ende Questionnaire แบบสอบถามปลายปิด Close ende Questionnaire

58 แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) แบบประมาณค่าเป็นเครื่องมือที่ใช้วัดสิ่งที่เป็น นามธรรม ด้วยการแปลเป็นเชิงปริมาณ เครื่องมือแบบ ประมาณค่านิยมใช้วัดพฤติกรรมที่ไม่สามารถวัดออกมาเป็น ตัวเลขได้โดยตรง เช่น ระดับความต้องการ ระดับปัญหา ระดับปฏิบัติ ความเหมาะสม

59 การสร้างแบบสอบถาม 1.ศึกษาวัตถุประสงค์ของการวิจัย 2.กำหนดหัวข้อหรือประเด็นหลัก ที่จะถามให้ครบ 1.แจกแจงประเด็นหลัก 2.กำหนดจำนวนข้อคำถาม 3.กำหนดคำตอบของข้อคำถาม

60 7 7. พิจารณาความเหมาะสม สอดคล้องของข้อ คำถามตามประเด็นย่อย ประเด็นหลักและ วัตถุประสงค์การวิจัย 8. จัดทำแบบสอบถามฉบับร่าง 9. ทดลองใช้เพื่อวิเคราะห์หาคุณภาพ 10. ปรับปรุงข้อคำถามและตัวเลือก 11. พิมพ์เป็นแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์

61 1.แต่ละคำถามต้องมีความเชื่อมั่นได้และมี ประโยชน์ต่องานวิจัย 2. แต่ละคำถามต้องเขียนให้แจ่มชัดและเข้าใจง่าย 3. คำถามที่เกี่ยวกับคุณลักษณะต่างๆ ที่มี ความหมายหลายมุม ไม่ควรนำมามาใช้ในการ เขียน คำถาม 4. ตัวเลือกที่เป็นแบบทดสอบปลายปิด ควรจะใช้ ภาษาง่ายๆ ไม่สลับซับซ้อนมากเกินไป 5. คำถามนั้นต้องยั่วยุให้ผู้พูดอยากตอบ ข้อเสนอแนะในการสร้างแบบสอบถาม

62 6. การใช้ภาษาในตัวคำถาม จะต้องถูกต้องตาม หลักไวยากรณ์ หลักไวยากรณ์ 7. คำถามควรจะสั้นกะทัดรัดแต่ได้ความ 8. คำถามแต่ละข้อ ต้องมีความเป็นปรนัยมากที่สุด 9. ต้องถามแต่เรื่องสำคัญๆ และผู้ตอบสามารถ มองเห็นความสำคัญนั้น มองเห็นความสำคัญนั้น 10. คำที่ต้องการเน้น ในคำถามนั้นควรขีดเส้นใต้ไว้

63 1. ทำให้แบบสอบถามนั้นดูน่าสนใจ เช่นใช้ปกเป็นสี หรือ เขียนภาพข้างหน้าให้สะดุดตา 2. เรียงคำถามให้ง่ายต่อการตอบให้มากที่สุด เท่าที่จะทำได้ เรียงข้อและหน้าตามลำดับ 3. ข้อเสนอแนะในการตอบคำถาม เขียนให้ชัดเจน ควรพิมพ์ ให้ใหญ่กว่าปกติ 4. มีตัวอย่างในการตอบแบบสอบถาม 5. จัดแบบสอบถามให้มีระบบตามต้องการ เพื่อสะดวกแก่การ วิเคราะห์ข้อมูล รูปแบบของการสอบถามรูปแบบของการสอบถาม

64 6. อย่าจัดคำถามที่สำคัญไว้ท้ายสุดของแบบสอบถาม ที่ยาวๆ 7. แบบสอบถามไม่ควรยาวจนเกินไป คำถามที่ไม่ สนใจจะถามไม่ควรใส่ลงไปโดยไม่จำเป็น 8. โดยปกติส่วนแรกของแบบสอบถาม จะเป็นสภาพ ทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 9. ควรจะมีคำชี้แจงแสดงถึงความสำคัญของปัญหา โดยชี้ให้เห็นว่าถ้าผู้ตอบให้ความร่วมมือในการตอบ แล้วผลประโยชน์ที่ได้จะนำเสนอในลักษณะกลุ่ม ไม่ใช่ บุคคล

65 1.ความสนใจของผู้ตอบ ถ้าเป็นเรื่องที่เขาสนใจ ผู้ตอบจะสละ เวลาตอบแต่ถ้าเป็นเรื่องที่เขาไม่สนใจหรือไม่เห็นคุณค่า เขาก็ จะไม่ตอบ 2. ลักษณะของแบบสอบถามต้องเป็นแบบสอบถามที่ดี 3. ความหนาของแบบสอบถาม แบบสอบถามไม่ควรหนา เกินไป เกินไป 4. จ่าหน้าซองถึงผู้รับและติดแสตมป์สำหรับส่งคืนมา 5. มีจดหมายนำอธิบายความสำคัญของแบบสอบถาม จุดมุ่งหมายของการวิจัยความสำคัญ ของข้อมูลที่ จุดมุ่งหมายของการวิจัยความสำคัญ ของข้อมูลที่ จะนำไปวิเคราะห์ จะนำไปวิเคราะห์ การใช้แบบสอบถามการใช้แบบสอบถาม

66 โครงสร้างของแบบสอบถาม ส่วนที่ 1: เป็นคำชี้แจงการตอบแบบสอบถาม ส่วนที่ 2: สถานภาพทั่วไป ส่วนที่ 3 :ข้อคำถามเกี่ยวกับพฤติกรรมที่จะวัด

67 1. ระบุจุดประสงค์ที่ให้ตอบแบบสอบถาม 2. บอกความสำคัญของคำตอบที่จะได้รับ หรือการนำคำตอบที่ ได้ไปใช้ประโยชน์ 3. ชี้แจงให้ทราบว่า คำตอบของผู้ตอบจะไม่มีผลกระทบ กระเทือนต่อตัวผู้ตอบไม่ว่าในทางใด ๆ ทั้งสิ้น 4. บอกให้ทราบว่าจะปกปิดคำตอบที่ได้รับไว้เป็นความลับและ ผลที่ได้จะเสนอเป็นรวมๆ 5. อธิบายลักษณะของแบบสอบถามพอสังเขป ส่วนที่ 1: เป็นคำชี้แจงการตอบแบบสอบถาม ส่วนที่ 1: เป็นคำชี้แจงการตอบแบบสอบถาม

68 6. อธิบายวิธีการตอบให้ชัดเจน 7. ยกตัวอย่างแบบสอบถามพร้อมทั้งตัวอย่างการตอบ 8. เน้นในท้ายว่า ให้ผู้ตอบตอบตามความเป็นจริงและ ตอบให้ครบทุกข้อ ซึ่งอาจเขียนเป็นข้อควรระวังไว้ เพื่อให้เห็นเด่นชัด 9. ขอบคุณผู้ตอบไว้ในตอนท้ายของคำชี้แจงหรือ จดหมายนำ 10. ลงชื่อและที่อยู่หรือหน่วยงานของผู้วิจัย เพื่อให้ ผู้ตอบทราบว่าเป็นแบบสอบถามของผู้ใด

69 ส่วนที่ 2: สถานภาพทั่วไป ส่วนที่ 2: สถานภาพทั่วไป เป็นรายละเอียดส่วนตัวของกลุ่ม ตัวอย่าง ซึ่งมักจะใช้เป็นตัวแปรต้นใน สมมติฐานของการวิจัย เช่น เพศ อายุ สภาพสมรส ระดับการศึกษา

70 เป็นข้อคำถามที่เกี่ยวกับพฤติกรรมหรือ สิ่งที่จะวัด ซึ่งอาจแยกเป็นด้านหรือเป็น ตอน และอาจใช้รูปแบบเดียวหรือชนิด เดียว หรืออาจใช้หลายรูปแบบก็ได้ ส่วนที่ 3 : ข้อคำถามเกี่ยวกับพฤติกรรมที่จะวัด ส่วนที่ 3 : ข้อคำถามเกี่ยวกับพฤติกรรมที่จะวัด

71 2 แบบทดสอบ (Test) แบบทดสอบ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวัดความรู้ความจำ หรือวัดความสามารถทางสมอง แบบเลือกตอบอีกแบบหนึ่ง ที่นำมาใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัย ส่วนมากจะ ใช้ในการสัมภาษณ์หรือใช้กับผู้ให้ข้อมูลที่มีความรู้น้อย แบบทดสอบจะใช้สองตัวเลือกหรือแบบ ถูกผิด หรือ มี ไม่ มี

72 แบบทดสอบ (Test) จำแนกตามลักษณะการสร้าง แบ่งได้เป็น 2 ประเภท แบบทดสอบที่ผู้วิจัยสร้างเอง แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardize test) 1. มีความเป็นปรนัย (Objectivity) 2. มีคำชี้แจงในการทำแบบทดสอบและตรวจข้อสอบ อย่างชัดเจน 3. ระบุค่าปกติวิสัยของแบบทดสอบ (Test norm) 4. ระบุค่าความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่นของ แบบทดสอบ แบบทดสอบ

73 จำแนกตามลักษณะการใช้ 1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Achievement test) (Achievement test) 2 แบบทดสอบวัดความพร้อม (Readiness test) 3 แบบทดสอบวินิจฉัยข้อบกพร่อง (Diagnostic test) 4 แบบทดสอบวัดเชาว์ปัญญา (Intelligence test) 5 แบบทดสอบวัดความถนัด (Aptitude test) 6 แบบสำรวจบุคลิกภาพ (Personality inventories) 7 แบบสำรวจความสนใจด้านอาชีพ (Vocational interest inventories)

74 การสร้างแบบทดสอบ 1. ศึกษาจุดมุ่งหมายของการสร้างข้อสอบ 2. เขียนจุดมุ่งหมายของข้อสอบ 3. กำหนดเนื้อหา ทักษะที่ต้องการวัด และรูปแบบของข้อสอบ 4. สร้างแผนผังการสร้างข้อสอบ 5. เขียนข้อสอบลงบัตรๆละ 1 ข้อ 6. เรียบเรียงจัดแบบฟอร์มข้อสอบ 7. ทดลองใช้และนำผลที่ได้มาวิเคราะห์รายข้อ 8. แก้ไขปรับปรุง 9. ได้ข้อสอบที่มีคุณภาพ

75 3 แบบวัดเจตคติ (attitude scales) แบบวัดเจตคติ (attitude scales) เทคนิคของ Likert 1.เขียนข้อความต่างที่เกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษา 2.นำข้อความที่เขียนไว้ไปให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณา 3.ตัดข้อความบางส่วนที่ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็น 4.ตัดสินใจว่าจะให้มีกี่ตัวเลือกในแต่ละข้อความ 5.เรียบเรียงข้อความที่เลือกแล้วมาชี้แจงในการตอบแบบวัด 6.นำแบบวัดไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง 7.วิเคราะห์คุณภาพของข้อความแต่ละข้อ

76  การสร้างแบบมาตราส่วนประมาณค่า 1. ใช้วิธีของ Likert 1. ใช้วิธีของ Likert (Likert Scale) วิธีนี้จะเป็น การแบ่งมาตรส่วนของการตีความออกเป็น 3, 4 หรือ 5 ช่วง เช่น เห็นด้วยอย่างมาก เห็นด้วย ไม่แสดง ความคิด ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง 2. วิธีของ Thurstone Scale 2. วิธีของ Thurstone Scale เป็นการวัดค่าเจตคติ โดย เมื่อนำไปวัดเจตคติของใครแต่ละคนควรกำหนดให้ตอบ ประมาณ 3 - 5 ข้อ แล้วนำมาหาคะแนนมัธยฐาน เฉพาะข้อ ที่เห็นด้วย 3. วิธีของ Osgood Scale 3. วิธีของ Osgood Scale การสร้างแบบวัดมาตราส่วน แบบนี้เป็นการสร้างมาตราวัดความแตกต่างเชิงความหมาย ส่วนใหญ่เป็นการสร้างเพื่อเจตคติและความคิดเห็นต่อสิ่งใดสิ่ง หนึ่ง ในการสร้างมาตราวัดนั้นจะใช้ 7 ช่วงที่ปลายแต่ละช่วง จะมีคำคุณศัพท์ที่มีความหมายตรงกันข้ามกำกับอยู่

77 4 แบบสังเกต (Observation form) แบบสังเกต (Observation form) แบบประมาณค่า( Rating scales) แบบตรวจสอบรายการ(Check list)

78 การสังเกต (Observation form)  การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสังเกต หมายถึง การเก็บ รวบรวมข้อมูล โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้าของผู้สังเกตเพื่อ ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์หรือปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ถ้า แบ่งตามวิธีการสังเกตสามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภทคือ 1. การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant observation) เป็นการสังเกตที่ผู้ สังเกตเข้าไปมีส่วนร่วม ปะปนกับผู้ถูกสังเกต ทำกิจกรรมร่วมกับผู้ถูก สังเกต เหมือนกับสมาชิกคนหนึ่งโดยผู้ถูกสังเกตไม่รู้ว่าถูกสังเกต 2. การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non – participant observation) เป็นการ สังเกตที่ผู้สังเกตไม่ได้เข้าไปร่วมกิจกรรมในเหตุการณ์นั้นๆ 5

79 แบบสัมภาษณ์ (Interview form) แบบสัมภาษณ์ (Interview form) 1. แบบสัมภาษณ์ที่มีแต่หัวข้อที่ ต้องการสัมภาษณ์ 2. แบบสัมภาษณ์ที่มีลักษณะเป็น แบบสอบถาม 6

80 การสร้างแบบสัมภาษณ์ 1. ผู้ตอบเข้าใจง่าย 2. ผู้ตอบสามารถตอบได้ 3. ไม่เป็นประโยคปฎิเสธซ้อนปฎิเสธ 4. ไม่เป็นข้อความที่สร้างความอึดอัดให้แก่ ผู้ตอบ 5. ไม่เป็นแนวทางที่ชี้แนะคำตอบ

81 สัมภาษณ์ (Interview form) การเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ หมายถึง การสนทนาอย่าง มีจุดมุ่งหมาย ตามวัตถุประสงค์ที่ผู้วิจัยกำหนดไว้ การสัมภาษณ์ แบ่งออกได้หลายประเภทตามเทคนิค การสัมภาษณ์ 1. การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง เป็นการสัมภาษณ์ที่ ไม่ได้กำหนดคำถามไว้แน่นอน การสัมภาษณ์สามารถ ยืดหยุ่น มีความเป็นมาตรฐานน้อย แต่ผู้สัมภาษณ์ต้องมี ความสามารถ ความเฉลียวฉลาด มีความชำนาญ และ ประสบการณ์ จึงจะทำให้การสัมภาษณ์ได้ข้อมูลเพียงพอ เที่ยงตรง ตามจุด มุ่งหมายที่กำหนด

82 2. การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง เป็นการ สัมภาษณ์ที่มีมาตรฐาน ผู้สัมภาษณ์จะ สัมภาษณ์ตามคำถามที่กำหนดไว้แล้ว ลักษณะที่ดีของการสัมภาษณ์แบบนี้คือ ไม่ต้องใช้ผู้สัมภาษณ์ที่มีความสามารถ มากนัก สรุปได้ง่ายใช้เวลาในการ สัมภาษณ์ได้เหมาะสม

83 การพัฒนาเครื่องมือการวิจัย  เครื่องมือการวิจัยก่อนที่จะนำไปใช้จริงกับกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยต้องมี การพัฒนาเครื่องมือการวิจัย ซึ่งมีการกระทำใน 2 ขั้นตอนคือ 1. ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความตรงทางด้านโครงสร้างของ เนื้อหา โดยมีผู้เชี่ยวชาญที่ตรวจสอบความเที่ยงตรงทางเนื้อหาไม่ควร น้อยกว่า 3 ท่าน ร่วมกันพิจารณา  1. ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความตรงทางด้านโครงสร้างของ เนื้อหา โดยมีผู้เชี่ยวชาญที่ตรวจสอบความเที่ยงตรงทางเนื้อหาไม่ควร น้อยกว่า 3 ท่าน ร่วมกันพิจารณา 2. การทดลองใช้ (Try out) เป็นการนำเครื่องมือไปทดลองใช้กับ กลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นจริง ซึ่งไม่ น้อยกว่า 30 คน เพื่อหาความเชื่อมั่น

84 ลักษณะเครื่องมือการวิจัยที่ดี  1. ความตรง คือ ความสามารถที่วัดสิ่งที่ต้องการได้ ความ ตรงในการวัดแบ่งได้หลายอย่างขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ของการ วิจัย  1.1 ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา โดยให้ผู้เชี่ยวชาญใน สาขา นั้นๆ พิจารณา เพราะไม่สามารถวัดออกมาเป็นค่า ตัวเลขได้ 1.2 ความตรงตามโครงสร้าง หมายถึง ความสามารถ ของแบบสอบถามที่ถามได้ครอบคลุมเนื้อหา สิ่งที่ต้องการ ทราบ 1.3 ความตรงตามสภาพที่เป็นจริง หรือความจริง 1.4 ความตรงตามคำทำนาย ผลที่ได้นำไปพยากรณ์ได้

85 2. ความเชื่อมั่น หรือ ความเที่ยงตรง (Reliability) หมายถึง ความคงเส้นคงวา วัดเมื่อไรได้ผลเช่นเดิม 3. ความเป็นปรนัย หมายถึง ความชัดเจนในการให้คะแนน ไม่ ว่าใครเป็นผู้ตรวจก็จะได้คะแนนเท่ากัน 4. มีอำนาจจำแนก เครื่องมือที่มีอำนาจจำแนกสูง ซึ่งหมายถึง สามารถแยกหรือแบ่งกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามออกเป็นระดับ ต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง 5. มีประสิทธิภาพ คือ เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องมือที่มีอยู่แล้ว จะสามารถอำนวยความสะดวกได้มากกว่า หรือใช้ได้อย่าง คุ้มค่ากว่า

86 สรุปผลการวิจัย เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล 3.ขั้น ดำเนินการวิจัย

87 การนำข้อมูลที่รวบรวมได้ ในการวิจัยมาสรุปเพื่อหา คำตอบตามวัตถุประสงค์ ของการวิจัย เก็บรวบรวม ข้อมูล

88 ตารางแสดงจำนวนประชากรและจำนวนกลุ่มตัวอย่าง ของ Krejcie and Morgan การเก็บรวบรวมข้อมูลและเครื่องมือการวิจัย Collecting Data and Research Instrumention ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดของสิ่งต่างๆ ซึ่ง อาจเป็นตัวเลขหรือข้อความเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่จะนำมาเป็นหลักฐาน ในการหาข้อยุติเป็นคำตอบต่อสิ่งที่ผู้วิจัยศึกษา จำแนกตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 1.Primary data เป็นข้อมูลหรือรายละเอียดที่ผู้วิจัยเก็บรวบรวม ด้วยตนเอง จากต้นตอหรือแหล่งกำเนิดข้อมูลโดยตรง 2. Secondary data เป็นรายละเอียดหรือข้อเท็จจริงที่ได้มา โดยวิธีการอ้างบุคคลอื่นมาอีกทอดหนึ่ง คือผู้วิจัยไม่สามารถเก็บ ข้อมูลจากแหล่งกำเนิดได้โดยตรง

89 คุณสมบัติของข้อมูล 1. Objective data หมายถึง ข้อมูลที่ได้มาจากความจริงโดยไม่ต้องผ่าน กระบวนการที่จำทำให้เปลี่ยนรูปเปลี่ยนความหมาย 2. Subjective data หมายถึงข้อมูลที่ได้มาจากการแปลความหรือการ ตีความของผู้เก็บข้อมูลอีกทีหนึ่ง ค่าการวัดของข้อมูล Qualitative data หมายถึงข้อมูลที่แสดงถึงคุณลักษณะ หรือคุณค่าที่เป็น คุณภาพ Quantitative data หมายถึง ข้อมูลที่สามารถวัดออกมาเป็นจำนวน หรือ ตัวเลขได้โดยตรง

90 การจัดเตรียมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ เป็นขั้นตอนระหว่างการเก็บรวบรวม ข้อมูล กับการวิเคราะห์ข้อมูล การ จัดเตรียมข้อมูลมี วัตถุประสงค์ในการที่จะทำให้ข้อมูลที่จัดเก็บ สามารถ นำไปวิเคราะห์ได้อย่างสะดวก มีความ ถูกต้อง สมบูรณ์ โดยมีขั้นตอน 1. การตรวจสอบความครบถ้วนของ จำนวนข้อมูล 2. การตรวจสอบความครบถ้วนของรายการใน แบบบันทึกข้อมูล 3. การตรวจสอบความชัดเจนของ การบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล

91 การวิเคราะห์ข้อมูลด้วย คอมพิวเตอร์  โปรแกรมสำเร็จรูปที่ใช้ในการวิจัยมีหลายโปรแกรม ที่ นิยมใช้กันมากในปัจจุบันได้แก่ โปรแกรม SPSS for Win (Statistical Package for Social Sciences for windows)  การเตรียมข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์ทางสถิติ มี ดังต่อไปนี้ 1. ตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูล 2. กำหนดหมายเลขลงบนเครื่องมือที่เก็บรวบรวมข้อมูล (Running Number)

92 การวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยคอมพิวเตอร์ … ต่อ 3. สร้างคู่มือลงรหัสของตัวแปรในเครื่องมือ (code book ) 4. พิจารณาว่าข้อมูลที่ได้มาเป็นข้อมูลประเภท ใด เพื่อจะได้เลือกใช้สถิติสำหรับการวิจัยได้ อย่างเหมาะสม

93 การวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยคอมพิวเตอร์ … ต่อ การวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยคอมพิวเตอร์ … ต่อ 5. การเตรียมคำสั่ง คำสั่งที่จะต้องใช้ในการปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ โดย 5.1 คำสั่งรายการข้อมูล (data list ) เป็นการ เขียนคำสั่งตามคู่มือลงรหัสที่กำหนด เพื่อให้เข้าใจ ตรงกันระหว่างผู้วิจัยกับคอมพิวเตอร์ 5.2 กำหนดสถิติที่ต้องการใช้ ผู้วิจัยจะต้อง กำหนดได้ว่าข้อมูลที่บันทึกลงในคอมพิวเตอร์นั้น ต้องการให้วิเคราะห์โดยใช้สถิติใด 6. ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ ให้คอมพิวเตอร์ ประมวลผลตามคำสั่งที่กำหนดไว้

94 สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล หน่วยที่ 3

95 สถิติในการวิจัย คือ การเก็บรวบรวมข้อมูลในเชิงปริมาณ อย่างเป็นระบบ ซึ่งในการวิจัยจะใช้สถิติหา คุณภาพของเครื่องมือ และใช้ในการกำหนด ขนาดของตัวอย่างให้เหมาะสมกับประชากร และสำหรับวิเคราะห์ข้อมูล แต่ก่อนทำการ วิเคราะห์ข้อมูลนั้น ผู้วิจัยจะต้องคำนึงถึง ข้อจำกัดของสถิติแต่ละตัว และความ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของงานวิจัย

96 สถิติในการวิจัย … ต่อ ประเภทของข้อมูลมีความสำคัญมาก สำหรับการนำ ข้อมูลไปวิเคราะห์ทางสถิติ เพราะสถิติแต่ละตัวมี ข้อจำกัดในการนำไปวิเคราะห์ ซึ่งขึ้นอยู่กับประเภท ของข้อมูล ฉะนั้นผู้วิจัยจะต้องมีความรู้ว่าข้อมูลแต่ ละตัวอยู่ในประเภทใด ซึ่งข้อมูลทางการวิจัยมีอยู่ หลายประเภท ดังต่อไปนี้ นามบัญญัติ (Nominal Scale) เรียงอันดับ (Ordinal Scale) อันตรภาค (Interval Scale) อัตราส่วน (Ratio Scale)

97 นามบัญญัติ (Nominal Scale)  ข้อมูลประเภทนี้เป็นข้อมูลที่ แบ่งเป็นกลุ่มเป็นประเภท ที่ แยกออกจากกัน เช่น เพศ แบ่งเป็น ชาย, หญิง อาชีพ แบ่งเป็น ข้าราชการ รัฐวิสาหกิจ ค้าขาย เป็นต้น  ข้อมูลเหล่านี้จะใช้ สถิติง่าย ๆ ในการคำนวณ คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ซึ่งข้อมูล เหล่านี้เป็นเพียงตัวแทนของชื่อ กลุ่มเท่านั้น จะนำไป บวก ลบ คูณ หาร กันไม่ได้ในทาง สถิติ เพราะไม่มีความหมาย

98 เรียงอันดับ (Ordinal Scale)  ข้อมูลประเภทนี้ เป็นข้อมูลที่ใช้จัด อันดับของสิ่งต่าง ๆ โดยเรียง อันดับของข้อมูลตามวัตถุประสงค์ ที่ตั้งไว้จากสูงสุดไปหาต่ำสุด เช่น ลำดับที่ของการสอบลำดับของการ ประกวดสิ่งต่าง ๆ หรือความนิยมเป็น ต้น ซึ่งจะนำไป บวก ลบ คูณ หาร กันไม่ได้เช่นกัน  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ

99 อันตรภาค (Interval Scale) ข้อมูลประเภทนี้ เป็นข้อมูลที่บอกถึงความแตกต่าง ระหว่างค่าที่วัดได้แต่ละช่วง ที่มีความห่างเท่ากัน ทุก ช่วง เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข สามารถ บวก ลบ กันได้ แต่ไม่มีศูนย์แท้ เช่น อุณหภูมิ ระดับทัศนคติ, ระดับ ความคิดเห็น โดยแปลความหมายจากแบบสอบถามที่เป็น แบบมาตราส่วนประมาณค่า หรือ คะแนนสอบ 0 – 100 ซึ่งช่วงของตัวเลขจะแบ่งเท่า ๆ กัน และมีค่าเป็นศูนย์ไม่ แท้เพราะ ตัวเลข 0 ไม่ได้ มีความหมายว่า ไม่มี แต่ตาม ความเป็นจริงแล้วยังมีค่าอยู่ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสถิติชั้นสูงทุกตัว

100 อัตราส่วน (Ratio Scale)  ข้อมูลประเภทนี้ เป็นข้อมูลที่ใช้วัดในระดับสูง สามารถบวก ลบ คูณ หาร ได้ และมีศูนย์แท้ เช่น น้ำหนัก, ความเร็ว ความกว้าง ความหนา พื้นที่ จำนวนเงิน, อายุ ระยะทาง ซึ่งถ้ามีค่าเป็น 0 หมายถึง ไม่มี  ข้อมูลเหล่านี้สามารถนำไปวิเคราะห์กับสถิติได้ทุกตัว

101 ตัวอย่างประเภทของ ข้อมูล

102 ตัวอย่างประเภทของข้อมูล … ต่อ

103

104 หลักการเลือกใช้สถิติในการ วิเคราะห์ข้อมูล การพิจารณาว่าจะใช้สถิติใดในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยจะต้องพิจารณา องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับ หลักการทางสถิติ 3 ประการดังนี้ 1. ลักษณะของตัวอย่างที่นำมาศึกษา ตัวอย่างที่นำมา ศึกษานั้นได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างหรือไม่ หากมีการสุ่ม ตัวอย่างจึงจะใช้สถิติแบบพาราเมตริก (Parametric statistic) แต่ถ้าไม่มีการสุ่มตัวอย่างจะต้องใช้สถิติแบบ นอน พาราเมตริก (Nonparametric statistic )

105 หลักการเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ ข้อมูล … ต่อ 2. ประเภทของข้อมูล ลักษณะของข้อมูลที่วัดได้มี 4 ประเภท สถิติบางอย่างสามารถใช้ได้กับข้อมูลทุก ระดับ แต่บางอย่างใช้ได้กับข้อมูลบางระดับก่อนตัดสินใจว่าจะใช้ สถิติใดในการวิเคราะห์ ข้อมูล ผู้วิจัยควรพิจารณาว่า ข้อมูลที่ รวบรวมมาได้นั้นเป็นข้อมูลระดับใดเสียก่อน เพื่อจะได้เลือกใช้ สถิติได้ถูกต้อง

106 หลักการเลือกใช้สถิติ ในการวิเคราะห์ข้อมูล … ต่อ 3. จุดมุ่งหมายของการวิจัย ผู้วิจัยจะต้องพิจารณาว่า วัตถุประสงค์ของการวิจัยนั้นมีกี่ตัวแปร มีจุดมุ่งหมาย เพื่ออธิบายลักษณะ ข้อเท็จจริงของตัวแปร หรือ ต้องการเปรียบเทียบ หรือ ต้องการศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ต้องมีการทดสอบ สมมุติฐานอะไรบ้าง จึงจะสามารถเลือกใช้สถิติได้ ถูกต้อง

107 ตารางแสดงสถิติที่ใช้ สถิติพื้นฐานสำหรับข้อมูลระดับต่าง ๆ

108 ตารางแสดงสถิติที่ใช้ … ต่อ สถิติสำหรับทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม

109 ตารางแสดงสถิติที่ใช้ … ต่อ สถิติสำหรับทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่ม

110 สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัย สถิติพื้นฐาน ได้แก่ สถิติวิเคราะห์เพื่อแสดงความหมายทั่วไป ของ ข้อมูล และใช้เป็น พื้นฐานในการคำนวณสถิติขั้นสูงต่อไป ซึ่ง สถิติพื้นฐานได้แก่ 1.1 การแจกแจงความถี่ (frequency) 1.2 การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ได้แก่ - ค่าเฉลี่ย (Mean) - มัธยฐาน (Median) - ฐานนิยม (Mode) 1.3 การวัดการกระจาย ได้แก่ - พิสัย (Range) - ความเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation) - ความแปรปรวน (Variance)

111 สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูล ในการวิจัย … ต่อ สถิติสำหรับการทดสอบสมมติฐาน เป็นสถิติที่ใช้สำหรับ การวิเคราะห์เพื่อทดสอบสมมติฐานว่าเป็นจริงตามที่กำหนดไว้ หรือไม่ ได้แก่ 1.1 การทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม ได้แก่ t-test F-test และ ไคสแควร์ (chi-square) 1.2 การหาความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป ได้แก่ การหาสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ (correlation) 1.3 การพยากรณ์ (regression)

112 สรุป ผลการวิจัย สรุปผลตามวัตถุประสงค์การวิจัย ไม่ต้องใส่ความคิดเห็นผู้วิจัย สั้น ๆ และตรงประเด็น ตารางแสดงผล แผนภูมิ กราฟ ความเรียง

113 รายงานผล การวิจัย รายงานผล การวิจัย 4.ขั้นเสนอ ผลการวิจัย

114 การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย นายธีระวุฒิ ดำรักษ์ หน่วยที่ 4

115 1. ดุษฎีนิพนธ์ หรือ วิทยานิพนธ์ (Dissertation or Thesis) 2. รายงานการวิจัยของหน่วยงาน (Research Report) 3. บทสรุปสำหรับผู้บริหาร (Executive Summary) 4. บทความวิจัย (Research Article) 5. บทคัดย่อ (Abstract) 6. ความย่อ (Synopsis)

116 ดุษฎีนิพนธ์ หรือ วิทยานิพนธ์ มีรูปแบบเคร่งครัดตามที่กำหนดโดย สถาบันการศึกษานั้น ๆ ถ้าเป็นการวิจัยเชิงปริมาณมักจะกำหนดให้ ประกอบด้วย 5 บท ถ้าเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ไม่ได้กำหนด จำนวนบทตายตัว อาจจะมีมากกว่า 5 บทก็ ได้

117 รายงานการวิจัยของหน่วยงาน ไม่กำหนดรูปแบบเคร่งครัดเหมือนดุษฎีนิพนธ์หรือ วิทยานิพนธ์ อาจมี 5 บทเหมือนดุษฎีนิพนธ์หรือ วิทยานิพนธ์ก็ได้ หรืออาจมีแค่ 4 บท โดยเอาบทที่ 2 ปรับรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของบทที่ 1 ก็ได้ ซึ่งจะ กลายเป็นหัวข้อ “แนวคิด ทฤษฎี และผลการวิจัยที่ เกี่ยวข้อง” อยู่หลังหัวข้อ “วัตถุประสงค์การวิจัย” หรือ “สมมติฐานการวิจัย (ถ้ามี)

118 บทสรุปสำหรับผู้บริหาร เนื่องจากผู้บริหารไม่ค่อยมีเวลามาก จึงไม่ สามารถอ่านงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ได้ ดังนั้น จึงต้องทำบทสรุปสำหรับให้ผู้บริหารอ่าน มี ความยาวประมาณ 3 – 5 หน้า โดยเน้นการ นำเสนอผลการค้นพบของงานวิจัยฉบับนั้น เพื่อให้ผู้บริหารได้อ่านและนำไปพิจารณาใช้ ประโยชน์สำหรับการบริหารงาน

119 บทความวิจัย เป็นการนำเสนอผลการวิจัยในรูปของบทความเพื่อ นำลงในวารสาร การเขียนบทความวิจัยมี ความสำคัญมาก เพราะเป็นการเผยแพร่ ผลการวิจัยสู่ผู้อ่านอย่างกว้างขวาง มักมีความยาว ตั้งแต่ 8 ถึง 15 หน้า และต้องประกอบด้วยหัวข้อ ตามที่กำหนดไว้ในวารสารนั้น ๆ

120 บทคัดย่อ คือข้อความที่เป็นการสรุปย่องานวิจัยเรื่องนั้น มักจะ ปรากฏในตอนหน้าของดุษฎีนิพนธ์หรือวิทยานิพนธ์ หรือ รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ บทคัดย่อทำหน้าที่รายงานผลการวิจัยเรื่องนั้น ๆ อย่างย่อ ๆ เพื่อให้ผู้ค้นคว้าได้ “ชิม” ว่า งานวิจัยเรื่องนั้นตรงกับที่ ตนต้องการหรือไม่ หากตรง ก็จะได้อ่านงานวิจัยให้ ละเอียดทั้งเล่ม หากไม่ตรง ก็ผ่านเลยไป มหาวิทยาลัยแต่ละแห่งจะนำบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ที่ ปรากฏในแต่ละปีมารวมพิมพ์เป็นเล่ม เรียกว่า รวม บทคัดย่อวิทยานิพนธ์/ดุษฎีนิพนธ์ ซึ่งจะเป็นเอกสารช่วย ให้ค้นคว้าผลงานวิจัยตามที่ผู้อ่านต้องการ

121 ความย่อ ความย่อหรือ Synopsis เป็นบทคัดย่อที่เขียนไว้อย่างสั้น มาก มักจะปรากฏเป็นส่วนหนึ่งของบทความวิจัย มักจะมี ความยาว 4 – 5 บรรทัดเท่านั้น ทำหน้าที่เช่นเดียวกับ บทคัดย่อที่ปรากฏในวิทยานิพนธ์ หรือรายงานการวิจัย คือให้สาระย่อของบทความวิจัยเรื่องนั้น เพื่อผู้อ่านจะได้ ตัดสินใจว่าสมควรอ่านรายละเอียดของบทความนั้น หรือ ผ่านเลยไป

122 ส่วนประกอบและวิธีเขียนรายงานการวิจัย รายงานการวิจัยในที่นี้หมายถึงดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ หรือรายงานการวิจัยของ หน่วยงาน ที่เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ และมี เนื้อหาประกอบด้วย 5 บท รายงานวิจัย ดังกล่าวประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 1. ส่วนหน้า 2. ส่วนเนื้อหา 3. ส่วนอ้างอิง

123 บรรณานุกรม 4. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล - ผลของขั้นการทดลอง - ผลของขั้นดำเนินการ แก้ปัญหา 5. สรุปอภิปรายผลและ ข้อเสนอแนะ ภาคผนวก ปกหน้า ปกใน บทคัดย่อ คำนำ สารบัญ 1 บทนำ 2. แนวคิดทฤษฎีและ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3. วิธีดำเนินการวิจัย - เตรียมการ - ดำเนินการ - เผยแพร่ ส่วนหน้า (Preliminary section) ส่วนเนื้อหา ( The body of the report ) ส่วนเอกสารอ้างอิง (Reference section) คำนำ บรรณานุกรม

124 2 2 ส่วนหน้า (Preliminary section) 3 1 4 5 ปกหน้า ปกใน บทคัดย่อ คำนำ สารบัญ

125 ปกหน้า ; ปกหน้า ;ประกอบด้วย ชื่อเรื่อง ชื่อผู้วิจัย ชื่อ หน่วยงานที่เป็นเจ้าของผลงานวิจัย ปีที่ทำวิจัย ปกใน ; ปกใน ; ข้อความเหมือนปกนอกทุกประการ เพียงแต่ใช้กระดาษเหมือนเนื้อใน

126 บทคัดย่อ ; ผู้ทำวิจัยสรุปเรื่องราวทั้งหมดเกี่ยวกับการวิจัยที่ ได้ดำเนินการไปแล้วมาสรุปไว้สั้นๆ โดยมีหัวข้อ สำคัญ ดังนี้ - ชื่อรายงานการวิจัย - ชื่อผู้ทำวิจัย - ปีที่ทำวิจัย - สาระของบทคัดย่อซึ่งจะกล่าวถึง จุดประสงค์ ขั้นตอนและผลที่ได้โดยสรุป

127 คำนำ ; กล่าวถึงความเป็นมาหรือประเด็นในเชิงแนะนำ งานวิจัยจุดมุ่งหมายและกล่าวขอบคุณบุคคลต่างๆ ที่ให้ความช่วยเหลือ ให้คำแนะนำ สารบัญ ; มักนิยมแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ - สารบัญ เนื้อเรื่อง - สารบัญตาราง - สารบัญภาพประกอบหรือแผนภูมิ

128 ส่วนเนื้อหา (The body of the report ) ประกอบด้วย 5 บท ดังนี้ บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

129 2 2 3 1 4 5 บทนำ แนวคิดทฤษฎีและเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีการดำเนินการวิจัย ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ส่วนเนื้อหา (The body of the report )

130 บทที่ 1 บทนำ 1.ความเป็นมาและความสำคัญ ของปัญหาที่ทำการวิจัย เป็นการกล่าวถึงภูมิหลังและที่มาของปัญหาที่จะทำ การวิจัย แล้วชี้ให้เห็นความจำเป็นที่ต้องทำการวิจัย เรื่องนี้ นิยมเขียนในลักษณะของหลักการและ เหตุผล แล้วขมวดหรือเชื่อมโยงมาสู่วัตถุประสงค์ การวิจัย

131 2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย กำหนดให้ชัดเจนว่าเพื่อศึกษาอะไร สิ่งที่ เราอยากได้คำตอบเขียนให้สอดคล้องกับปัญหา วิจัย และนิยมเขียนเป็นประโยคบอกเล่า

132 3. สมมติฐานของการวิจัย เป็นคำบอกเล่าที่คาดหวังไว้ก่อนที่จะทำ วิจัยผู้วิจัยต้องศึกษาแนวคิดทฤษฎีหรืองานวิจัยที่ เกี่ยวข้องอย่างเพียงพอ จึงจะสามารถงสมมติฐาน ได้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงและการตั้งสมมติฐาน ต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย

133 4. ขอบเขตของการวิจัย เป็นการกำหนดขอบเขตของเรื่องที่ต้องการวิจัย มัก นิยมกำหนดขอบเขตไว้ 4 ประเด็น คือ (1) ประชากร หรือกลุ่มเป้าหมายของการ วิจัย ให้ระบุประชากรของการวิจัย แต่อย่าระบุกลุ่ม ตัวอย่าง เพราะกลุ่มตัวอย่างจะไปพูดถึงในบทที่ 3 (2) เนื้อหาของการวิจัย (3) ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง (4) ระยะเวลาที่ทำการวิจัย

134 5. ข้อตกลงเบื้องต้น (ถ้ามี) เป็นการทำความเข้าใจกับผู้อ่านเกี่ยวกับเงื่อนไข บางประการของการทำวิจัย 6. ข้อจำกัดของการวิจัย (ถ้ามี) เป็นการทำความกระจ่างแก่ผู้อ่านเกี่ยวกับข้อจำกัด ของการทำวิจัย ซึ่งอาจส่งผลให้การวิจัยไม่ได้ผล เต็มที่อย่างที่คาดเอาไว้

135 7. นิยามศัพท์ นิยามคำศัพท์สำคัญที่เกี่ยวข้องในงานวิจัยเพื่อให้ผู้อ่าน เข้าใจตรงกับผู้วิจัย การนิยามมักให้ทั้งนิยามเชิง ความหมาย และนิยามเชิงปฏิบัติการ 8. ประโยชน์ที่(คาดว่าจะ)ได้รับจากการวิจัย เขียนประโยชน์ที่ได้รับหรือคาดว่าจะได้รับจากการ วิจัยซึ่งประกอบด้วยประโยชน์โดยตรงและ ประโยชน์สืบเนื่อง ให้เขียนเป็นข้อ ๆ โดยเริ่มจาก ประโยชน์โดยตรงก่อน

136 บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและ เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทนี้เป็นการให้ความกระจ่างกับผู้อ่านเกี่ยวกับเรื่องที่ทำ การวิจัย โดยมักจะครอบคลุมเนื้อหาต่อไปนี้ (1) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องที่วิจัย (2) ทฤษฎีที่รองรับหรือเกี่ยวข้องกับเรื่องที่วิจัย (3) แนวปฏิบัติเกี่ยวกับเรื่องที่วิจัย (ถ้ามี) (4) ผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งจากต่างประเทศ และภายในประเทศ ถ้าเขียนบทที่ 2 ได้ดี จะทำให้การอภิปรายผล ในบทที่ 5 ลึกซึ้งยิ่งขึ้น

137 บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย เป็นรายละเอียดที่จะบอกให้ผู้อ่านทราบว่าผู้วิจัยทำการวิจัยตาม ขั้นตอนการวิจัยอย่างไร หัวข้อสำคัญที่ควรมีในบทนี้มีดังต่อไปนี้ 1. รูปแบบการวิจัย หรือ แบบแผนการวิจัย ให้ระบุว่า งานวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยประเภทใด และมีแบบแผนการวิจัย อย่างไร 2. ขั้นตอนการวิจัย เสนอรายละเอียดของขั้นตอนการ วิจัยซึ่งถูกกำหนดโดยแบบแผนการวิจัยโดยอธิบายขั้นตอนเป็น ข้อ ๆ 3. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เขียนเป็นสองย่อหน้า ย่อหน้าแรกระบุประชากรของการวิจัย ย่อหน้าที่สองระบุกลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย โดยต้องระบุขนาดของกลุ่มตัวอย่าง และวิธีการที่ใช้ในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง

138 4. เครื่องมือการวิจัย ระบุเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ทุกอย่าง สำหรับงานวิจัยเชิงทดลองมีเครื่องมือสองประเภท คือ เครื่องมือทดลอง และเครื่องมือรวบรวมข้อมูล ส่วน งานวิจัยเชิงพรรณนามีเครื่องมือประเภทเดียว คือ เครื่องมือ รวบรวมข้อมูล ซึ่งอาจใช้เครื่องมือหลายอย่าง ขึ้นอยู่กับตัว แปรตาม ในการกล่าวถึงเครื่องมือแต่ละชนิดจะต้องกล่าวสอง อย่างเสมอ คือ (1) เครื่องมือนั้นมีลักษณะอย่างไร และ (2) เครื่องมือนั้นได้มาอย่างไร

139 5. การเก็บรวบรวมข้อมูล ระบุวิธีการที่ใช้ในการ เก็บรวบรวมข้อมูล ว่าใช้วิธีการใด และอย่างไร (การเขียนข้อนี้อย่าให้สับสนกับการเขียนขั้นตอน การวิจัย) 6. การวิเคราะห์ข้อมูล ระบุวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ปัจจุบันนี้ไม่จำเป็นต้องเสนอสูตรการคำนวณทาง สถิติ เพราะมักจะทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ แต่ควรระบุนัยสำคัญของการทดสอบสมมติฐานไว้ ล่วงหน้า

140 หลักในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 1. ควรเสนอเรียงลำดับตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย หรือตามสมมติฐานทีละข้อ 2. การแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลควรแปลเฉพาะประเด็นสำคัญหรือข้อค้นพบที่ เด่นๆ 3. ใช้เทคนิคในการแปลผลที่เรียกว่า “ ข้อมูลพูดได้ ” เช่น ใช้แผนภูมิ แผนภาพ 4. ใช้ภาษาเขียนที่อ่านง่ายและเหมะสมกับกับผู้อ่าน 5. การสอนผลการวิเคราะห์ข้อมูลระหว่างตารางควรมีข้อความนำเพื่อเชื่อมโยงให้ เห็นความต่อเนื่องระหว่างสิ่งที่เสนอไปแล้วกับสิ่งที่เสนอไปแล้วกับสิ่งที่จะ เสนอต่อไปอย่าง 6. การเขียนหัวข้อตาราง จะต้องเขียนให้ชัดเจน ไม่คลุมเครือ บอกลำดับตาราง 7. เสนอผลกระทบ(Impact) ซึ่งเกิดจากการดำเนินการแก้ปัญหา (ถ้ามี) เช่น นักเรียน ครู ได้รับคำชมเชย

141 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ จุดเน้นของบทนี้คือ การนำเสนอข้อสรุปหรือข้อ ค้นพบให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยอภิปราย ผลการวิจัยโดยอิงแนวคิดทฤษฎี รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะ โดยใช้ข้อค้นพบจากการวิจัยครั้งนี้บทนี้ต้องมรสาระสำคัญ ครบถ้วนพร้อมที่จะนำไปปรับเป็นงานวิจัยย่อได้ แนวทางการเขียนบทนี้ดังนี้

142 1.สรุปการวิจัย เป็นการสรุปกิจกรรมการวิจัยทั้งหมด ซึ่งมักจะประกอบด้วย หัวข้อย่อยสำคัญ ๆ คือ วัตถุประสงค์การวิจัย ประชากรและกลุ่ม ตัวอย่าง เครื่องมือการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล และการ วิเคราะห์ข้อมูล 2. สรุปผลการวิจัย นำเสนอผลการวิจัยที่ได้จากบทที่ 4 เป็นข้อ ๆ

143 3. การเขียนอภิปรายผลการวิจัย 3.1 เขียนเพื่อชี้แจงให้เห็นว่าผลการวิจัยที่ ได้สอดคล้องหรือขัดแย้งกับหลักการทฤษฎีหรือ ผลการวิจัยของผู้อื่นที่ทำไว้อย่างไร ในการ อภิปรายควรแยกประเด็นอภิปรายไปทีละประเด็น 3.2 ในการอภิปรายผลการวิจัยไม่ จำเป็นต้องอภิปรายทุกรายการตามข้อสรุป ผู้วิจัย อาจยกประเด็นที่น่าสนสังเกตหรือประเด็นที่ปรากฏ ข้อสรุปไม่เป็นไปตามสมมติฐาน

144 4. การเขียนข้อเสนอแนะ 4.1 ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ประโยชน์ เขียนให้สอดคล้องกับประโยชน์ที่คาดว่าจะ ได้รับที่ระบุไว้ในบทที่ 1 4.2 ข้อเสนอแนะในการทำวิจัย เป็น ข้อเสนอแนะเพื่อทำวิจัยเพิ่มเติมว่า จากข้อค้นพบ ในงานวิจัย ก่อให้เกิดประเด็นหรือแนวคิดที่จะมี การดำเนินการวิจัยในระยะต่อไปในหัวข้อใดบ้าง

145 การเขียนรายงานการวิจัยเชิงคุณภาพ รายงานการวิจัยเชิงคุณภาพมีส่วนประกอบที่แบ่งเป็นส่วนหน้า ส่วน เนื้อหา และส่วนอ้างอิง เหมือนรายงานการวิจัยเชิงปริมาณ แต่ความแตกต่างอยู่ ที่รายละเอียดของส่วนเนื้อเรื่อง 1. เนื้อหาของการวิจัยเชิงคุณภาพไม่จำเป็นต้องแบ่งเป็น 5 บท อาจมี มากกว่า 5 บทก็ได้ 2. เนื้อหาอาจประกอบด้วยบทต่อไปนี้ (1) บทที่กล่าวถึงความเป็นมาของเรื่องที่วิจัย วัตถุประสงค์ และวิธีการวิจัย (2) บทที่กล่าวถึงวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ซึ่งรวมถึง แนวคิด ทฤษฎี และผลการวิจัยที่เกี่ยวข้อง (อาจมีหรือไม่มีก็ได้) (3) บทต่าง ๆ ที่รายงานผลการวิจัย ซึ่งมีหลายบท (4) บทสรุปและอภิปรายผล

146 ตัวอย่างงานวิจัยเชิงคุณภาพ งานวิจัยเรื่อง ความเชื่อเรื่องฮวงจุ้ยในวิถีชีวิตของคน ไทยเชื้อสายจีนในกรุงเทพมหานคร (ณัฐธิดา สุขมนัส 2539) บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 ประวัติความเป็นมาของชาวจีนในประเทศไทย บทที่ 3 ชุมชนชาวไทยเชื้อสายจีนในย่านสำเพ็ง-เยาวราช กรุงเทพมหานคร บทที่ 4 ศาสนา ความเชื่อ และพิธีกรรมของชาวจีน บทที่ 5 ฮวงจุ้ย ความเชื่อเกี่ยวกับการพยากรณ์ของชาวจีน บทที่ 6 การใช้สัญลักษณ์ทางฮวงจุ้ยเพื่ออาคารที่อยู่อาศัย บทที่ 7 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

147 การเขียนบทความวิจัย การเขียนบทความวิจัยเพื่อส่งไปลงในวารสาร ต่าง ๆ ควรศึกษาข้อกำหนดของวารสารนั้น ๆ เกี่ยวกับ รูปแบบ (Format) และหัวข้อที่จะต้องปรากฏในบทความ โดยทั่วไป บทความมักประกอบด้วยองค์ประกอบต่อไปนี้ 1. ชื่อบทความ 2. ชื่อผู้เขียน มักจะให้บอกสถาบันที่สังกัด และ e-mail address 3. บทคัดย่อ และ/หรือ Abstract ซึ่งมักเป็น แบบย่อหน้าเดียว หรือ Synopsis

148 4. คำนำ หรือ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 5. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 6. ระเบียบวิธีการวิจัย หรือ วิธีการวิจัย 7. ผลการวิจัย 8. อภิปรายผล 9. เอกสารอ้างอิง หรือบรรณานุกรม 10. ภาคผนวก (อาจมีหรือไม่มีก็ได้)

149 บทคัดย่อประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 1. ส่วนหัว ซึ่งจะต้องพิมพ์ตามรูปแบบและเนื้อหา ตามที่แต่ละสถาบันกำหนด 2. ส่วนเนื้อหา เป็นเนื้อหาของบทคัดย่อ ซึ่งแบ่งเป็น 3 แบบ คือ (1) แบบ 5 ย่อหน้า (2) แบบ 4 ย่อหน้า (3) แบบ 3 ย่อหน้า นิยมมากที่สุด 3. ส่วนช่วยการค้นหา ได้แก่ คำสำคัญ (Keywords) บทคัดย่อ

150 การเขียนเนื้อหาบทคัดย่อ การเขียนบทคัดย่อแบบ 5 ย่อหน้า ย่อหน้าที่ 1 ระบุหลักการหรือความสำคัญของเรื่องที่วิจัย ย่อหน้าที่ 2 ระบุวัตถุประสงค์ของการวิจัย ย่อหน้าที่ 3 ระบุระเบียบวิธีการวิจัย ซึ่งประกอบด้วย กลุ่ม ตัวอย่าง เครื่องมือการวิจัย และการวิเคราะห์ ข้อมูล ย่อหน้าที่ 4 ระบุผลการวิจัย โดยนำเสนอเป็นข้อ ๆ ย่อหน้าที่ 5 ระบุการอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

151 การเขียนเนื้อหาบทคัดย่อ (ต่อ) การเขียนบทคัดย่อแบบ 4 ย่อหน้า ตัดย่อหน้าแรกออก ดังนั้นจึงเหลือแต่ย่อหน้าที่ กล่าวถึง วัตถุประสงค์การวิจัย ระเบียบวิธีการวิจัย ผลการวิจัย และการอภิปรายผลหรือข้อเสนอแนะ การเขียนบทคัดย่อแบบ 3 ย่อหน้า ตัดย่อหน้าแรกและย่อหน้าสุดท้ายออก ดังนั้นจึง เหลือแต่ย่อหน้าที่กล่าวถึง วัตถุประสงค์การวิจัย ระเบียบ วิธีการวิจัย และผลการวิจัย

152 การเขียนคำสำคัญของบทคัดย่อ คำสำคัญ คือคำที่จะช่วยให้ผู้คนคว้าได้เข้าถึง บทคัดย่อเรื่องนี้ในการค้นด้วยคอมพิวเตอร์ มีหลักในการ เขียนคำสำคัญดังนี้ 1. ในบทคัดย่อแต่ละเรื่อง ควรเสนอคำสำคัญหลาย ๆ คำ เพื่ออำนวยความสะดวกในการค้นคว้า นิยมเสนอมาก ถึง 5 คำ 2. ต้องเสนอเป็นคำ อย่าเสนอเป็นวลีหรือประโยค 3. คำที่เสนอต้องปรากฏในชื่อเรื่องหรือเนื้อหาของ บทคัดย่อ

153 2 2 1 ส่วนเอกสารอ้างอิง(Reference section) บรรณานุกรม ภาคผนวก

154 บรรณานุกรม เป็นส่วนที่นำเอาเอกสารทุกเล่มทุกชนิดที่อ้างอิง ในรายงานการวิจัยนำมารวบรวมเขียนเป็น บรรณานุกรมของรายงาน การวิจัยอย่างเป็นระบบ การเขียนเป็นบรรณานุกรมให้เขียนตามแบบ มาตรฐานของการเขียนบรรณานุกรมให้เขียนตาม รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เมื่อใช้รูปแบบนั้น และควร แยกภาษาไทยกับภาษาอังกฤษ เป็นคนละส่วน

155 ภาคผนวก หมายถึง ส่วนที่นำรายละเอียดปลีกย่อย ของเนื้อหาที่ไม่จำเป็นต้องใส่ไว้ในส่วนของ เนื้อหามารวมไว้ตอนท้ายเล่ม เพื่ออ้างอิงใน รายละเอียด อาจจะเป็นตารางผลการวิเคราะห์ที่ เป็นรายละเอียดเพิ่มเติม ตัวอย่างเครื่องมือหรือ ที่ผู้วิจัยเห็นว่าจะเป็นประโยชน์ในการศึกษาวิจัย


ดาวน์โหลด ppt ระเบียบวิธีการวิจัยระเบียบวิธีการวิจัย ธีระวุฒิ ดำ รักษ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google