ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSrisuriyothai Chirapaisarnsakul ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
ชื่อผู้วิจัย นางดวงใจ สารภี อาจารย์กลุ่มวิชาบัญชี
นางดวงใจ สารภี อาจารย์กลุ่มวิชาบัญชี สังกัด : วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
2
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร
3
ปัญหาการวิจัย นักศึกษา ปวส.ปีที่ 1 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ส่วนมากมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60
4
วัตถุประสงค์การวิจัย
เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับ ปวส. ปีที่ 1 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธี การเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร
5
ตัวแปรการวิจัย ตัวแปรต้น - วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่ม กัลยาณมิตร
ตัวแปรต้น - วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่ม กัลยาณมิตร ตัวแปรตาม - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับ ปวส. ปีที่ 1 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
6
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร ที่ใช้ในการศึกษาได้แก่นักศึกษา ปวส.ปีที่ 1 จำนวน 2 ห้องเรียน รวม 64 คน กลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีเฉพาะเจาะจงเป็นนักศึกษา ปวส.ปีที่ 1 ห้อง M 4/3 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จำนวน 25 คน ระยะเวลาทำการวิจัย ใช้เวลาทดลองจำนวน 8 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
7
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
รายการที่วิเคราะห์ ปริมาณ 1 จำนวนนักศึกษา 25 คน 2 คะแนนเฉลี่ย ( ) 20.44 3.ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (sd) 3.44 4 คะแนนทีที่คำนวณได้ ( tcal) 3.55 5 คะแนนทีวิกฤติ ( t.05,24) 2.06 สรุปผล tcal มากกว่า t.05,24 แสดงว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษามากกว่าร้อยละ 60 จริง ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05
8
สรุปผลการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับ ปวส. ปีที่ 1 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจหลังจากใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตรมีค่าคะแนนเฉลี่ยผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 จริง ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05
9
ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป
1. ผู้สอนต้องอธิบายวัตถุประสงค์ของการใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตรให้ผู้เรียนได้เห็นความสำคัญและเพื่อให้เกิดความร่วมมือกันของสมาชิกในกลุ่มอย่างจริงจัง 2. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมภายในชั้นเรียน ผู้สอนต้องคอยสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนเพื่อนำไปพัฒนาให้ดีขึ้นและเมื่อผู้เรียนเกิดข้อสงสัยจะได้สามารถซักถามผู้สอนได้ในทันที 3. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในบางครั้งอาจต้องมีการเสริมแรงทางบวกด้วย 9
10
จบการนำเสนอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.