ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPhatra Chaisurivirat ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อการมีงานทำ โดย ชุลีพร สุระโชติ ศน.สพป.ลพบุรี เขต ๒
2
วิสัยทัศน์หลักการจุดมุ่งหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑.หลักสูตรฯประกอบด้วย วิสัยทัศน์หลักการจุดมุ่งหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ 8กลุ่มสาระ โครงสร้างเวลาเรียนและการวัดประเมินผลการเรียนรู้
3
๒. ส่วนที่เกี่ยวข้องกับสภาพชุมชนและท้องถิ่น
๒. ส่วนที่เกี่ยวข้องกับสภาพชุมชนและท้องถิ่น กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เป้าหมายที่เป็นจุดเน้นในการพัฒนาผู้เรียนในท้องถิ่น สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับท้องถิ่น
4
๓.ส่วนที่สถานศึกษาพัฒนาเพิ่มเติม
สอดคล้องเหมาะสมกับจุดเน้นของสถานศึกษา ความสนใจ ความต้องการ ความถนัดของผู้เรียน เพื่อพัฒนาสมรรถนะ ศักยภาพของผู้เรียน
5
การจัดการศึกษาวิชาชีพในสถานศึกษา
จัดตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา จัดนอกโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
6
จัดตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
ลักษณะที่๑ จัดในรายวิชาพื้นฐาน การงาน - ปลูกพืช-ทำอาหาร โดยตรง ศิลปะ ดนตรี-วาดภาพ-งานปั้น ภาษาต่างประเทศ - มัคคุเทศก์น้อย สอดแทรก คณิตศาสตร์ – บัญชีรายรับ รายจ่าย ต้นทุน กำไร
7
ลักษณะที่ ๒ จัดในรายวิชาเพิ่มเติม
ตามจุดเน้น ความต้องการ กำหนดเป็นผลการเรียนรู้ที่เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน สาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับงานอาชีพ ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับงานอาชีพ กอท ทอเสื่อ ช่างเสริมสวย เพาะไม้ดอกไม้ประดับ สังคมฯ จัดทำข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว วัฒนธรรม การผลิตสินค้า และการบริการในชุมชน
8
ลักษณะที่ ๓ จัดในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จัดในส่วนของกิจกรรมนักเรียน
ชุมนุม ชมรม
9
จัดนอกโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
จัดในรูปแบบของกลุ่มสนใจ นอกเวลาเรียนปกติ สถานศึกษาจัดเอง สถานศึกษาจัดร่วมกับครอบครัว สถานประกอบการ อื่นๆ
10
การจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นอาชีพ
จัดตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา จัดนอกโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
11
จัดตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
แนวทางที่ ๑ การจัดการเรียนรู้วิชาชีพโดยสถานศึกษา สำรวจข้อมูลอาชีพ จัดทำหลักสูตรรายวิชาพื้นฐาน /เพิ่มเติม /กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ประชาสัมพันธ์ จัดกลุ่มผู้เรียนตามความสนใจ เน้นกระบวนการทำงาน มีความรู้ ทักษะอาชีพ หารายได้ระหว่าง เรียน
12
แนวทางที่ ๒ การจัดการเรียนรู้วิชาชีพโดยสถานศึกษา ร่วมกับวิทยากร
แนวทางที่ ๒ การจัดการเรียนรู้วิชาชีพโดยสถานศึกษา ร่วมกับวิทยากร บุคคลภายนอก ภูมิปัญญาท้องถิ่น เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงในโรงเรียน
13
แนวทางที่ ๓ การจัดการเรียนรู้วิชาชีพโดย
สถานศึกษาร่วมกับสถานประกอบการ ปฏิบัติจริง กับสถานที่จริง
14
สนับสนุนการเรียนรู้ทางด้านวิชาชีพ ทั้งด้านบุคลากร
แนวทางที่ ๔ การจัดการเรียนรู้วิชาชีพโดยสถานศึกษา ร่วมกับสถาบันการศึกษา หน่วยงานของรัฐ และเอกชน สนับสนุนการเรียนรู้ทางด้านวิชาชีพ ทั้งด้านบุคลากร วัสดุครุภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
15
จัดนอกโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
ส่งเสริมอาชีพให้ผู้ที่มีความสนใจ นอกเวลาเรียนปกติเพิ่มทักษะด้านอาชีพ มีรายได้ระหว่างเรียน เป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.