งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขต 5 ปี 2552

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขต 5 ปี 2552"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขต 5 ปี 2552

2 จำนวนเครือข่ายหน่วยบริการประจำ ของ เขต 5
สังกัด กท.สธ นอกสังกัด เอกชน รวม เพชรบุรี 8 1 9 สมุทรสงคราม 3 สมุทรสาคร 2 5 ประจวบคีรีขันธ์ 10 22 27

3 จำนวนหน่วยบริการปฐมภูมิ ของเขต 5
จังหวัด ในสังกัด กท.สธ นอกสังกัด กท.สธ. รพ.เอกชน เทศบาล/กาชาด รวม (แห่ง) จำนวน ร้อยละ เพชรบุรี 126 38.76 1 0.77 0.00 3 2.31 130 สมุทรสงคราม 54 16.61 สมุทรสาคร 59 18.15 2 3.28 61 ประจวบฯ 86 26.46 2.20 4 4.40 92 325 96.43 0.89 0.60 7 2.08 337

4 จำนวนประชากร ต่อหน่วยบริการปฐมภูมิ ของเขต 5
จำนวน (แห่ง) ประชากร (คน) เฉลี่ย/แห่ง สถานีอนามัย 305 4,147 ใน รพช. 13 8,094 นอก รพช. 1 4,938 ใน รพท./รพศ 2 27,039 นอก รพท./รพศ 4 11,359 นอกสังกัด สธ./เอกชน 12 11,719 รวม 337 4,820

5 จำนวนบุคลากรที่ปฏิบัติงานประจำที่หน่วยบริการปฐมภูมิ ของเขต 5
จำนวน (แห่ง) ร้อยละ 1 คน 4 1.19 2 คน 44 13.06 3 คน 121 35.91 4 คน 96 28.49 5 คน 49 14.54 6 คน 12 3.56 7 คน 3 0.89 8 คน ขึ้นไป 8 2.37 รวม 337 100.00

6 ประเภทของบุคลากรที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิ ของเขต5
ประเภทบุคลากร จำนวน (คน) ร้อยละ แพทย์ 29 2.41 ทันตแพทย์ 12 1.00 เภสัชกร 20 1.66 ทันตาภิบาล 41 3.41 พยาบาลเวชปฏิบัติ 198 16.47 พยาบาลวิชาชีพ 166 13.81 นักวิชาการสาธารณสุข 271 22.55 จนท.บริหาร/จพ. สธ 453 37.69 จพ. เภสัช รวม 1,202 100.00

7 ข้อมูลพยาบาล/พยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไปในหน่วยบริการปฐมภูมิ
ของ สอ./CMU/รพสต. เขต 5 จังหวัด จำนวน สอ./CMU/รพสต. (แห่ง) มีพยาบาลปฏิบัติงาน (แห่ง) จำนวนพยาบาลเวชปฏิบัติ(คน) อำเภอ พยาบาล (คน) มี ร้อยละ ไม่มี อบรมแล้ว ยังไม่อบรม เพชรบุรี 8 118 102 84 71.19 34 28.81 71 69.61 31 30.39 สมุทรสงคราม 3 54 78 53 98.15 1 1.85 28 35.90 50 64.10 สมุทรสาคร 56 25 44.64 55.36 11 44.00 14 56.00 ประจวบ ฯ 81 62 47 58.02 41.98 36 58.06 26 41.94 รวม 22 309 267 209 67.64 100 32.36 146 54.68 121 45.32

8 การจัดบริการปฐมภูมิ ของ เขต5
การจัดบริการปฐมภูมิ ของ เขต5 จังหวัด รพ.ไร้ความ แออัด การจัดบริการ ปฐมภูมิ ในเขตชนบท CMU รพสต. เพชรบุรี 2 1 8 สมุทรสงคราม 3 สมุทรสาคร 4 ประจวบคีรีขันธ์ 9 รวม 5 24

9 ผลการตรวจประเมินหน่วยบริการปฐมภูมิตามมาตรฐาน ศูนย์สุขภาพชุมชน ของ เขต 5
จังหวัด PCU สังกัด กท.สธ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ร้อยละ เพชรบุรี 126 113 89.68 สมุทรสงคราม 54 43 79.63 สมุทรสาคร 59 26 44.06 ประจวบคีรีขันธ์ 86 58 67.44 รวม 325 240 73.85

10 การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ ของเขต 5
- การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ในภาพรวมของเขต 5 ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 73.85 ส่วนใหญ่ไม่ผ่านเกณฑ์ เรื่อง การมีและใช้ Family Folder , การมีและใช้ Communily Folder , การขาดแคลนบุคลากร - การมีฐานข้อมูลประชากร และปัญหาสุขภาพของประชากรในความรับผิดชอบ ได้แก่ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ , เด็ก 0 – 5 ปี , ผู้สูงอายุ , ผู้พิการ , ผู้ป่วยเรื้อรัง - การจัดบริการปฐมภูมิของเครือข่าย ในด้านการกระจายกำลังคน/ กระจายเงิน และรูปแบบการจัดบริการ

11 ปัญหา – อุปสรรค ปัญหา – อุปสรรค แนวทางแก้ไข
1.พยาบาลวิชาชีพ ยังไม่ได้รับการอบรม พยาบาลเวชปฏิบัติ ครอบคลุม ทุกราย 2. จนท. สธ /จนท.บริหาร / นวก.สธ. ที่สำเร็จการศึกษาหลักสูตรพยาบาลวิชาชีพ ไม่สามารถปรับตำแหน่งได้ 3. การขาดแคลนบุคลากร 1. ท่านผู้ตรวจราชการและผู้ช่วยผู้ตรวจราชการได้ประสานกับ วพ.พระจอมเกล้า จัดอบรมหลักสูตรพยาบาลเวชปฎิบัติ จำนวน 2 รุ่น 2. เสนอส่วนกลางผลักดันให้บุคลากรได้ปรับตำแหน่งตามวุฒิที่สำเร็จการศึกษา 3. จังหวัดวางแผนการสรรหาบุคลากร ส่วนกลางจัดสรรโควต้าเพิ่ม


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขต 5 ปี 2552

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google