งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เทคนิคการสร้าง ผลงานทางวิชาการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เทคนิคการสร้าง ผลงานทางวิชาการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เทคนิคการสร้าง ผลงานทางวิชาการ
เพื่อขอกำหนดตำแหน่งเป็น ชำนาญการ 6 , เชียวชาญ 9 และ เชี่ยวชาญพิเศษ 10 เรืองชัย จรุงศิรวัฒน์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน 9 ระดับ 9 ชช. มหาวิทยาลัยขอนแก่น * ที่ปรึกษา อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏ ราชนครินทร์ , บุรีรัมย์ , กำแพงเพชร ** ที่ปรึกษารองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏ ยะลา *** ที่ปรึกษาคณะสัตว์แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2 องค์ประกอบการพิจารณาผลงานทางวิชาการ
1) ปริมาณงาน 2) คุณภาพงาน 3) ผลงาน 4) การบริการวิชาการ 5) การเป็นที่ยอมรับในวง วิชาชีพ ช. 6 , 7-8 ชช. 9 ชช พิเศษ 10

3 1 2 3 4

4

5 1 2 3 4

6 ไม่ผ่าน ผ่าน

7 ในการทำผลงานทางวิชาการ
เทคนิคการเตรียมตัว ในการทำผลงานทางวิชาการ มีเทคนิคการเตรียมตัวทำผลงานทางวิชาการในการขอกำหนดตำแหน่ง เป็นผู้ชำนาญ การ และผู้เชี่ยวชาญ ดังนี้...

8 ศึกษาแบบฟอร์มการเสนอ ขอกำหนดตำแหน่ง
ศึกษาแบบฟอร์มการเสนอ ขอกำหนดตำแหน่ง ศึกษาแบบฟอร์มการกำหนด ตำแหน่งตามที่ สกอ.กำหนด หรือ ตามที่แต่ละมหาวิทยาลัย/สถาบันได้กำหนดเพิ่มเติมขึ้นมา ดังนี้...

9

10

11 (1) ประวัติส่วนตัว การศึกษา การรับราชการ การดำรง ตำแหน่งอื่นๆ
เก็บข้อมูลจาก..แฟ้มประวัติ จากคำสั่ง จากบันทึกการมอบ หมายงาน หรือ บันทึกคำสั่งการของผู้บังคับบัญชา

12 ตัวอย่าง

13

14

15

16 (2) ปริมาณงานในหน้าที่
หมายถึงภาระหน้าที่ ที่รับผิด ชอบ โดยให้อธิบายถึงขนาดของงานที่รับผิดชอบ หรือจำนวนความมากน้อยของงาน

17 ระบบการบริหารงานของหน่วยงานที่ตนทำอยู่นั้นเป็นหน่วยงานที่ให้บริการ กลาง(รวม) หรือเป็นหน่วยงาน
ที่กระจายการให้บริการ

18 ตัวอย่างที่ไม่ผ่าน

19 ตัวอย่างที่ผ่าน

20

21 ผู้ที่จะเสนอผลงานจะต้องเก็บรวบรวมปริมาณงานที่ตนได้ปฏิบัติ และจะต้องจัดเก็บอย่างเป็นระบบ สามารถหยิบหรือเรียกใช้งานได้ง่าย และ สะดวก

22 งาน และภายนอกหน่วยงาน จะ ต้องเก็บรวบรวมหนังสือแต่งตั้งทุกครั้ง
เมื่อได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการอะไร ทั้งภายในหน่วย งาน และภายนอกหน่วยงาน จะ ต้องเก็บรวบรวมหนังสือแต่งตั้งทุกครั้ง

23 ที่ปฏิบัติอยู่ ควรเก็บรวมรวมหนังสือเชิญ อาจทำเป็นแฟ้มๆ เช่น...
เมื่อใดที่ได้รับเชิญเป็นวิทยากร เป็นอาจารย์พิเศษในการบรรยาย ในสาขาวิชาชีพ ที่ปฏิบัติอยู่ ควรเก็บรวมรวมหนังสือเชิญ อาจทำเป็นแฟ้มๆ เช่น...

24 ۞ ภาระงานกรรมการ ۞ ภาระงานอนุกรรมการ
۞ ภาระงานการเป็นที่ปรึกษา ۞ ภาระงานการเป็นวิทยากร ۞ ภาระงานการเป็น อ. พิเศษ จากนั้น Scan เป็นไฟล์เก็บไว้ในแผ่นซีดีหรือเครื่องคอมพิวเตอร์

25

26

27

28

29

30 (3) คุณภาพของงานในหน้าที่
เป็นการแสดงให้เห็นว่าภาระงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละเรื่องมี ความยากง่ายของงาน ที่ผู้ปฏิบัติ เมื่อปฏิบัติงานแล้วต้องอาศัยความ รู้และเทคนิควิธีการในการทำงานมากน้อยเพียงใด

31 ลักษณะของงานที่ปฏิบัติอยู่ แสดงถึงความจำเป็นของหน่วยงานว่า ต้องการบุคลากร ที่มีความรู้ความสามารถ ความ ชำนาญการเพียงใดในการ ปฏิบัติงาน

32 ในองค์ประกอบนี้..ผู้ทรง คุณวุฒิค่อนข้างจะพิจารณา ยาก เนื่องจากมิได้กำหนดให้ต้องนำเสนอไปพร้อมกับผลงาน
(คู่มือ บทความ งานวิจัย ฯลฯ) ผู้ทรงฯจึงไม่เห็นปริมานงาน และคุณภาพของงาน(ประจำ) ทั้งหมดที่เราปฏิบัติ

33 จากประสบการณ์ในเป็นผู้ทรงคุณวุฒิในการอ่านผลงานของผู้อื่น ที่ขอกำหนดตำแหน่งชำนาญการ ระดับ 8
การพิจารณาให้ค่าคะแนนจึงดูจาก “แบบประวัติ” ขอผู้ยื่นขอ เป็นหลักในการคะแนน ซึ่งจะพิจารณาดังนี้....

34 ก. ระดับความยากง่าย และ
ซับซ้อนของงานที่ปฏิบัติ โดยพิจารณาว่างานที่ปฏิบัตินั้น มีระดับความยากง่าย ซับซ้อน ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถ และเทคนิควิธีการในการทำงาน

35 ข. ระดับการใช้ความคิดและ การวิเคราะห์
โดยพิจารณาว่างานที่ปฏิบัตินั้น เป็นงานที่ต้องใช้ความคิดและการวิเคราะห์ในการปฏิบัติงาน มากน้อยเพียงใด

36 ค. ระดับการแก้ปัญหา และ การตัดสินใจ
โดยพิจารณาว่างานที่ปฏิบัติ นั้น เป็นงานที่ต้องใช้สติปัญญาความสามารถ ในการแก้ไข ปัญหา และการตัดสินใจ มาก น้อยเพียงใด

37 รวมไปถึง..ใช้เทคนิควิธีการปฏิบัติงานประจำวันของผู้เสนอขอกำหนดตำแหน่ง เช่น... ۞ เทคนิควิธีการแก้ปัญหา
۞ การให้ข้อเสนอแนะ และ ۞ การให้คำปรึกษาแก่ผู้มา รับบริการ หรือ ผู้ใต้บังคับ บัญชา

38 (4) ภาระงานย้อนหลัง 3 ปี เก็บข้อมูลจากรายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี และถ้ามีการจัดทำบันทึกส่วนตัวว่าเรามีภาระ หน้าที่รับผิดชอบงาน อะไรบ้าง มีปริมาณงานเท่าใด เป็น ต่อ วัน/สัปดาห์/ปี

39 และถ้าหน่วยงานที่สังกัดไม่มี การจัดทำรายงานประจำปี ก็เก็บ ข้อมูลจาก PD หรือ PF รายบุคคล
ในหัวข้อภาระงานย้อนหลัง 3 ปีนี้ ควรเขียนให้ กก.ประจำคณะ และผู้ทรงคุณวุฒิ มองเห็นภาพภาระงานที่เราปฏิบัติให้มากที่สุด

40 เพราะ กก.ประจำคณะ และผู้ทรง
คุณวุฒิจะไม่เห็นในรายละเอียดการปฏิบัติงานทั้งหมดของเรา ดังนั้นถ้าเราเขียนให้ผู้ทรงฯมองเห็นปริมาณงานและคุณภาพของงาน ที่เราทำ(ทั้งๆที่มิได้กำหนดให้ส่ง) จะเป็นผลดีกับการพิจารณาในการให้ผ่าน หรือไม่ให้ผ่าน

41

42

43

44

45

46

47 (5) ผลงานที่ใช้นำเสนอขอ กำหนดตำแหน่ง
เป็นองค์ประกอบหลักที่จะเสนอผลงาน เป็นผู้ชำนาญการ ระดับ 6 ,7-8 ผู้เชี่ยวชาญ 9 และ เชี่ยวชาญพิเศษ ที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะใช้ในการ พิจารณาว่า...

48 ผลงานที่เรานำเสนอนี้มีคุณ
ค่า สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงการปฏิบัติงาน หรือการพัฒนางานที่เกี่ยวข้องได้ มากน้อยเพียงใด สามารถลดขั้นตอน ลดเวลาและ ลดคนในการปฏิบัติงานหรือไม่

49 สำหรับรายละเอียดของผลงานที่จะนำเสนอนี้ ทาง สกอ
สำหรับรายละเอียดของผลงานที่จะนำเสนอนี้ ทาง สกอ. ไม่ได้กำหนดไว้ชัดเจน ตายตัว เหมือนในการขอ กำหนดตำแหน่ง ผศ. , รศ. และ ศ. ของสายอาจารย์

50 จำนวน และ ประเภท ของผลงานที่นำเสนอ ทาง สกอ
จำนวน และ ประเภท ของผลงานที่นำเสนอ ทาง สกอ. ก็ไม่ได้ระบุบังคับไว้เช่นกัน ดังนั้น... อกม. มหาวิทยาลัยแต่ละแห่งจะกำหนดให้ส่งผลงานในลักษณะต่างๆ ดังนี้...

51 ۞ คู่มือการปฏิบัติงาน
۞ คู่มือการปฏิบัติงาน ۞ งานวิเคราะห์ ۞ งานวิจัย ۞ งานแต่งตำรา ۞ งานสิ่งประดิษฐ์ หรือ งานสร้างสรรค์

52 ۞ งานเรียบเรียง ۞ งานแปล ۞ งานเขียนบทความทาง วิชาการ ۞ งานบริการวิชาการ เช่น เป็นวิทยากร , ที่ปรึกษา เป็นอาจารย์พิเศษ ฯลฯ

53 อาจเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างแล้วแต่ละ อกม
อาจเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างแล้วแต่ละ อกม. มหาวิทยาลัยแต่ละแห่งจะกำหนด ให้ส่งตามความเหมาะสม โดยต้องมีมาตรฐานไม่ต่ำกว่าที่ สกอ. กำหนด

54 ตัวอย่าง ระดับ 8

55

56

57 ตัวอย่าง ระดับ 9

58

59

60

61

62

63 การเขียนผลงานที่แสดงความถึงการเป็นผู้ชำนาญการนี้ ต้องเริ่มจากการเขียนในเรื่องที่ง่ายๆ ที่เกี่ยวกับงานที่ตนเองปฏิบัติอยู่เป็นประจำ โดยหลีเลี่ยงเรื่องที่ไม่ใช่งานในหน้าที่หลักของเรา

64 ประการที่สำคัญที่สุดในการเขียนผลงานให้ได้ดี คือต้องเป็น
นักอ่านให้มากๆ เพราะการอ่าน การค้นคว้า จะทำให้เราได้ข้อมูล ได้แนวทาง และได้ประสบการณ์ โดยเฉพาะอ่านผลงานของผู้ที่เคยนำเสนอ และพิจารณาให้ ผ่านมาแล้วยิ่งดี

65 (6) การใช้วิชาชีพในการให้
บริการแก่สังคม หัวข้อนี้เป็นองค์ประกอบหลักหนึ่งของการกำหนดตำแหน่งเป็นผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 9 และ ผู้เชี่ยว ชาญพิเศษ ระดับ 10 (ชำนาญการ 6,7-8 ไม่ต้องมี)

66 ในองค์ประกอบนี้ผู้ที่จะเสนอขอกำหนดตำแหน่งฯจะต้องฝึกฝนตนเอง มีการเตรียมความพร้อมในการรองรับกับการได้รับเชิญเป็น “วิทยากร”

67 หรือ เป็น “อาจารย์พิเศษ”บรรยายในระดับมหาวิทยาลัย /สถาบันอุดมฯ ตลอดจนการได้รับเชิญเป็น “ที่ปรึกษา” ในสาขาวิชาชีพที่ตนเองปฏิบัติอยู่

68 เทคนิคก็คือจะต้องวางแผน
ในการทำอย่างไรให้ได้เป็นวิทยา กรในวิชาชีพที่ทำอยู่ หรือการเป็นอาจารย์พิเศษ หรือการเป็นที่ปรึกษา ตลอดจนการเป็นกรรมการ ในการอ่านผลงานผู้อื่น กรรมการ ตรวจเครื่องมือวิทยานิพนธ์ ฯลฯ

69

70

71

72

73

74

75

76

77

78

79

80

81 เป็นที่ปรึกษา ให้กับอธิการบดี มหาวิทยาลัย

82

83 เป็นวิทยากรให้กับมหาวิทยาลัย ในต่างประเทศ

84

85 (7) ความเป็นแหล่งอ้างอิงทาง วิชาการ หรือความเป็นที่ ยอมรับนับถือในวงวิชาชีพ นั้นๆ
ข้อนี้เป็นองค์ประกอบหลักเฉพาะ ของผู้ที่จะขอกำหนดตำแหน่งเป็น ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10 เท่านั้น

86 หมายถึง..... ต้องมีผลงาน ทางวิชาการ เป็นที่เชื่อถืออย่างกว้างขวาง มีผู้นำไปอ้างอิงในวารสาร หรือ หนังสือ หรือ ตำราที่เชื่อถือได้ และเป็นที่ยอมรับนับถือในวงวิชาชีพนั้นๆ ซึ่งได้ แก่...

87 การได้รับเชิญเป็นผู้ทรง คุณวุฒิ หรือที่ปรึกษาเฉพาะ ด้าน หรือ เป็นผู้ที่ได้รับรางวัลดีเด่นจากผลงานวิชาการ เทคนิคก็คือจะต้องวางแผนทำอย่างไรให้ได้มาซึ่งการเป็นผู้ ทรงคุณวุฒิ เป็นที่ปรึกษา เป็นผู้ได้รางวัลฯ

88 เมื่อเราได้จัดทำผลงานทาง วิชาการขึ้นมาแล้ว ควรที่จะตีพิมพ์และเผยแพร่ ไปตามห้องสมุดทุกมหาวิทยาลัย หรือทุกสถาบันอุดมศึกษา แม้ว่าใน ขณะที่ทำเสร็จนั้น ยังไม่ถึงเวลายื่นขอกำหนดตำแหน่งก็ตาม

89 การเผยแพร่ผลงานที่แสดง ความเป็นผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญ และ ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ
อกม. มหาวิทยาลัยส่วนใหญ่จะกำหนดให้มีการเผยแพร่ผลงาน/การนำไปใช้ ก่อนที่จะนำมาเสนอขอกำหนดตำแหน่ง

90 ในการการเผยแพร่ผลงานมหาวิทยาลัยอาจกำหนดให้มีการเผยแพร่ในวารสาร หรือจุลสาร ที่เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ หรือชี้แจงให้ชัดเจนว่า ได้มีการใช้ผลงาน นั้น ... มาแล้วอย่างไร ? ที่หน่วยงานใด ? เมื่อใด ?

91 ผลงานวิจัยบางมหาวิทยาลัยอาจกำหนดให้เผยแพร่ในวารสาร
ที่มีการตรวจสอบโดยคณะกรรม การ Pre Review และเป็นวารสาร เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ หรือ วงวิชาชีพ

92 หรือเผยแพร่ในหนังสือรวบ
รวมทบความทางวิชาการ โดยการนำเสนอต่อที่ประชุม สัมมนาวิชา การและต้องแนบสำเนารายงานการประชุมทางวิชาการที่มีเนื้อเรื่องสมบูรณ์ประกอบ เพื่อให้กรรมการพิจารณา เช่น...

93

94

95 งานแปลหนังสือวิชาการ ที่เขียนขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน หรือประกอบการศึกษาค้นคว้าในการปฏิบัติงาน บางแห่งอาจกำหนดให้มีการ เผยแพร่ไปยังห้องสมุดของสถา บันอุดมศึกษา/มหาวิทยาลัย

96 งานแปลนี้..อาจเป็นการแปลจากภาษาต่างประเทศมาเป็นภาษาไทย หรือ จากภาษาไทย เป็นภาษาต่างประเทศ หรือเป็นการแปลจากภาษาต่างประเทศหนึ่ง เป็นอีกประเทศหนึ่ง ที่แสดงให้เห็นถึงความเข้าใจลึกซึ้งของ ผู้แปล

97 ที่บ่งชี้ถึงความสามารถในการสื่อสารความหมายในระดับสูงมาก มีการศึกษา การวิเคราะห์ และตีความทั้งตัวบทและบริบทของตัวงาน(แปล)อย่างละเอียดลึกซึ้ง

98 เทคนิคการเขียนคู่มือ การปฏิบัติงาน
เหตุที่ต้องเน้นที่การเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน เพราะ อกม.หลาย มหาวิทยาลัยมักจะกำหนดให้คู่มือการปฏิบัติงาน เป็นหนึ่งในผลงานทางวิชาการที่จะใช้ประกอบการขอกำหนดตำแหน่ง

99 สิ่งที่สำคัญในการเขียน คู่มือการปฏิบัติงาน คือต้องเขียนเรียบเรียงที่แสดงเห็นว่าสามารถ
นำไปปฏิบัติจริงได้ หากระบุได้ว่าได้นำไปปฏิบัติจริงมาตั้งแต่เมื่อใด ที่หน่วยงานใด มีปัญหาอย่างไร และได้แก้ไขมา แล้วอย่างไร ...จะทำให้มีน้ำหนัก มากขึ้น

100 เรียบเรียงให้เป็นแนวคิดของตนเองแล้วนำกฎ ระเบียบ หนังสือ
เวียน มติที่ประชุม ข้อบังคับ ฯลฯ ตลอดจน ข้อเขียนข้อคิดเห็นของผู้อื่น หรือจากประสบการณ์จริงที่เคยปฏิบัติงานมาแล้ว มาประกอบการอ้างอิงสนับสนุนแนวคิดในคู่มือที่เขียนขึ้น

101 แนวทางในการเรียนคู่มือ การปฏิบัติงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการ ควรแบ่งออกเป็น
บทๆ ในแต่ละบทควรมีรายละเอียดพอสมควรที่จะแยกเป็นบทได้ ที่สำคัญควรมีบรรณานุกรมและภาคผนวกด้วย

102 การเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ควรยกตัวอย่างประกอบด้วย และตัวอย่างที่ยกประกอบนี้ต้องเป็นตัวอย่างที่ “ถูก” หรือ “สามารถทำได้” และเป็นตัวอย่างที่ “ผิด” หรือ “ไม่สามารถทำได้” เพื่อให้เห็นทั้งสองด้าน

103 การเขียนจะเริ่มจากบทไหน ก่อนก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับข้อมูลที่เราหามาได้ก่อนหลัง อาจรวบรวมจากการที่ตอบคำถามผู้มาขอใช้ บริการก็ได้ ควรตั้งเป็นแฟ้ม จดบันทึกเอาไว้ แล้วในแต่ละเดือนให้นำมาสรุปเป็นรายเดือน หรือ 3-4 เดือน/ครั้ง


ดาวน์โหลด ppt เทคนิคการสร้าง ผลงานทางวิชาการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google