งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่มที่ 15 กลุ่ม ลูกน้ำเค็ม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่มที่ 15 กลุ่ม ลูกน้ำเค็ม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลุ่มที่ 15 กลุ่ม ลูกน้ำเค็ม
กลุ่มที่ 15 กลุ่ม ลูกน้ำเค็ม จังหวัดสงขลา สุราษฎร์ธานี สตูล ระนอง นราธิวาส พัทลุง ตราด

2 จังหวัดสงขลา สุราษฎร์ธานี สตูล ระนอง นราธิวาส พัทลุง และตราด
สมาชิกกลุ่ม 15 ลูกน้ำเค็ม จังหวัดสงขลา สุราษฎร์ธานี สตูล ระนอง นราธิวาส พัทลุง และตราด

3 รายชื่อสามชิกกลุ่ม 15 จังหวัดสงขลา จังหวัดตราด จังหวัดระนอง
นายวุฒิศักดิ์ สุวรรณ จังหวัดตราด นายวินัย ขยันยิ่ง จังหวัดระนอง นายวสันต์ สุขสุวรรณ นางสาวอรสา ช่วยบำรุง นางเพียงฤดี สุขแก้ว จังหวัดสตูล นายชาญชัย วิจักขณาภรณ์ นายสุเอียด คงเย็น นายบุญร่วม หนูนอง นายประทีป จันทสุริวงศ์ จังหวัดพัทลุง นายสมชาย เพ็งประไพนางอรทัย เพ็งประไพ จังหวัดนราธิวาส นายสัมพันธ์ อุดร จังหวัดสุราษฏร์ธานี นายจรัญ รอดศรีนาค นางสาวกัญญา สุวรรณโณ นายวุฒิพงศ์ วงศ์จิตธรรม นายสมมิตร สุวรรณพรรคนางสาวนันทวัน วัฒนา นางสาวพัชนีกูล บุญแสง นางสาวหับสะ ตงเยต นายวีระศักดิ์ ฤทธิรณ นางสาวขวัญชนก บุปผากิจ นายสิทธิชัย ช่วยสงค์ นางสาวรัตนา จันทร์แก้ว นายเจตนิพิฐ ปานเพชร นางพรทิพย์ สมวงศ์ นางสาวสมใจ พันธุ์พิทย์แพทย์

4 กลุ่มลูกน้ำเค็ม นาย วสันต์ สุขสุวรรณ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
สำนักงานเกษตรจังหวัดระนอง ผู้นำเสนอ จิรภัทร ชูศิลป์ทอง อาจารย์ที่ปรึกษา บุษยมาศ นิลน้อย ผู้ช่วยอาจารย์ที่ปรึกษา

5 โครงการส่งเสริมการปลูกข่าเหลืองแก้จน
ผลสัมฤทธิ์ 1. คุณภาพชีวิตของเกษตรกรดีขึ้น 2. เกษตรกรเชื่อมั่นในการทำงานของศูนย์บริการฯ 3. ผู้บริโภคเกิดความพึงพอใจ 4. แก้ไขปัญหาความยากจนตามนโยบายรัฐได้สำเร็จ

6 ผลลัพธ์ รายได้ = ราคาที่เกษตรกรขายได้ ณ แปลงเกษตรกร
18บาท/กก. = ไร่ละ 172,800 บาท เกษตรกรมีรายได้ 50 ครัวเรือนๆละ 120,000 บาท (หลังจากหักค่าใช้จ่าย) มูลค่ารวม 6,000,000 บาท (เกษตรกร 50 คน) สร้างวิทยากรเกษตรเพิ่มขึ้น

7 ผลผลิต ระยะการปลูก 50x 50 ซ.ม. = 6,400 กอ/ไร่
หลังปลูก 6-8 เดือน ให้ผลผลิต เฉลี่ยกอละ 1.5 กก.= 9,600 กก./ไร่ เกษตรกร 50 ครัวเรือนๆ ละ 1 ไร่ จะได้ผลผลิต= 480,000 กก.

8 กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ
1. กำหนดขั้นตอนการดำเนินงาน 1.1 กำหนดบุคคลเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมาย 1.2 วางแผนการทำงาน ประชุมชี้แจง คัดเลือกเกษตรกร การฝึกอบรมและดูงาน สนับสนุนปัจจัยการผลิต ติดตามประเมินผลและรายงานผล

9 กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ (ต่อ)
2. การมีส่วนร่วมของเกษตรกร การจัดตั้งกองทุนหมุนเวียน เกิดการรวมกลุ่มการผลิตและจำหน่าย เกษตรกรสมทบทุนในการจัดหาปัจจัยการผลิต 10% ตัวแทนเกษตรกรมีส่วนร่วมในการจัดหาปัจจัยการผลิต

10 กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ (ต่อ)
3. วิธีการนำไปสู่การปฏิบัติ การฝึกอบรมและดูงาน ดำเนินการตามโครงการ

11 ปัจจัยที่เอื้อต่อการทำงาน
กลยุทธ์หน่วยงานรุกไปข้างหน้า สนองนโยบายขจัดความยากจนของรัฐบาล การเมือง สังคมการเกษตร เศรษฐกิจ เทคโนโลยี ผู้ว่า CEO ,อปท.(อบจ. อบต. เทศบาล) มีตลาดรองรับที่ชัดเจน เกิดการรวมกลุ่ม ภูมิปัญญาชาวบ้าน เกิดถ่ายทอดซึ่งกันและกัน รายได้เกษตรกรเพิ่มขึ้น การแปรรูป ลดการว่างงาน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน มีแหล่งทุนสนับสนุน(ธกส.) อุตสาหกรรมสนับสนุน

12 ปัจจัยนำเข้า คน เทคโนโลยี วัตถุดิบ เงิน ระยะเวลา
เจ้าหน้าที่ กรรมการศูนย์ฯ. เกษตรกร วิทยากร ผู้นำท้องถิ่น เทคโนโลยี ภูมิปัญญาชาวบ้าน อุปกรณ์การเกษตร แปลงสาธิต องค์ความรู้ วัตถุดิบ พันธุ์ข่าเหลือง ปุ๋ย น้ำและระบบการให้น้ำ แปลงสาธิต เงิน งบ 1,500,000บาท= ค่าพันธุ์ข่าเหลือง ปุ๋ย การฝึกอบรมและดูงาน ระยะเวลา กุมภาพันธ์ – ธันวาคม 2549

13 ข้อมูลเพิ่มเติม http//: ขอขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt กลุ่มที่ 15 กลุ่ม ลูกน้ำเค็ม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google