งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล
ในอำเภอพิบูลมังสาหาร โขงเจียม สิรินธร จังหวัดอุบลราชธานีี สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มกราคม 2546

2 วัตถุประสงค์ รวบรวมความคิดเห็นของประชาชน เกี่ยวกับ
ความเดือดร้อนและแนวทาง การ เปิด หรือ ปิดประตู ระบายน้ำเขื่อนปากมูลในกรณีต่าง ๆ และ ผลกระทบที่ได้รับ ตลอดจนข้อเสนอแนะต่าง ๆ เพื่อให้รัฐบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการ และตัดสินใจเกี่ยวกับการ เปิด หรือ ปิดประตูระบายน้ำเขื่อนปากมูล

3 การเลือกตัวอย่าง /ขนาดตัวอย่าง
แผนการสุ่มตัวอย่าง Stratified three-stage sampling การเลือกหน่วยตัวอย่างขั้นที่ 1 เลือกชุมรุมอาคาร / หมู่บ้าน ตัวอย่าง การเลือกหน่วยตัวอย่างขั้นที่ 2 เลือกครัวเรือนตัวอย่าง 25 ครัวเรือน ต่อชุมรุมอาคาร /หมู่บ้าน การเลือกหน่วยตัวอย่างขั้นที่ 3 ในแต่ละครัวเรือนตัวอย่าง เลือกหัวหน้าครัวเรือน/สมาชิกที่มี อายุ 18 ปีขึ้นไป ครัวเรือนละ 1คน

4 จำนวนชุมรุมอาคาร /หมู่บ้านตัวอย่าง
พื้นที่ไม่ติดริมแม่น้ำมูล พื้นที่ติดริมแม่น้ำมูล ทั้งสิ้น ตัวอย่าง อำเภอ ทั้งสิ้น ตัวอย่าง ทั้งสิ้น ตัวอย่าง รวม 317 150 72 35 245 115 พิบูลมังสาหาร 190 64 44 15 146 49 โขงเจียม 52 38 14 11 38 27 สิรินธร 75 48 14 9 61 39

5 จำนวนครัวเรือนตัวอย่าง
พื้นที่ ไม่ติดริม แม่น้ำมูล พื้นที่ ติดริม แม่น้ำมูล อำเภอ รวม รวม 3,750 875 2,875 พิบูลมังสาหาร 1,600 375 1,225 โขงเจียม 950 275 675 สิรินธร 1,200 225 975

6 อำเภอพิบูลมังสาหาร 1,600 คน อำเภอโขงเจียม 950 คน
ขนาดตัวอย่าง อำเภอพิบูลมังสาหาร 1,600 คน อำเภอโขงเจียม คน อำเภอสิรินธร ,200 คน รวม ,750 คน วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้วิธีการสัมภาษณ์ โดยเจ้าหน้าที่ ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ระหว่างวันที่ ธันวาคม 2545

7 การประมวลผล บรรณาธิกร ลงรหัส บันทึกข้อมูล จัดเตรียมโปรแกรมการประมวลผล จัดเตรียมค่าถ่วงน้ำหนัก (Weight) ประมวลผลและจัดทำตาราง วิเคราะห์และจัดทำรายงาน

8 อาชีพหลักของประชาชนใน 3 อำเภอ
รวม พิบูลมังสาหาร โขงเจียม สิรินธร รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 ทำนา 70.3 77.5 57.0 56.3 ทำสวน/ทำไร่ 0.6 9.6 10.9 4.0 ประมง 3.6 1.8 14.6 1.7 รับจ้างทั่วไป/กรรมกร 4.7 5.4 15.6 7.0 ค้าขาย 7.8 8.1 6.5 8.1 รับราชการ/ลูกจ้างเอกชน 3.2 3.0 4.0 4.4 อื่น ๆ 3.3 2.9 3.7 4.4

9 ผลกระทบจากเขื่อนปากมูล
การดำรงชีวิต การประกอบอาชีพ 9.0% 5.8% 10.2% 6.0% เหมือนเดิม ดีขึ้น แย่ลง ภาวะน้ำท่วม 85.2% 83.8% 12.4% 2.5% แย่ลง 85.1%

10 ผลกระทบจากเขื่อนปากมูล
สภาพแวดล้อม การท่องเที่ยว 2.0% 4.8% 6.1% 6.1% เหมือนเดิม ดีขึ้น แย่ลง การคมนาคม 2.9% 91.9% 89.1% 13.2% 83.9% ดีขึ้น

11 ผลกระทบจากเขื่อนปากมูลสำหรับ อาชีพประมง
การดำรงชีวิต สภาพแวดล้อม 9.2% 10.1% 30.5% 45.1% 45.7% เหมือนเดิม 59.4% ดีขึ้น การประกอบอาชีพ แย่ลง ภาวะน้ำท่วม 1.9% 11.3% 31.1% 54.8% 33.9% 67.0% แย่ลง

12 ผลกระทบจากเขื่อนปากมูลสำหรับ อาชีพประมง
การท่องเที่ยว การคมนาคม 7.4% 12.1% 10.6% เหมือนเดิม 24.1% ดีขึ้น แย่ลง 80.5% 65.3% ดีขึ้น

13 ความเดือดร้อนจากการเปิด-ปิดประตูระบายน้ำกรณีต่าง ๆ
การเปิด - ปิดประตูระบายน้ำ ปิดตลอดปี 21.1 78.9 เดือดร้อน 19.2 เปิดตลอดปี ไม่เดือดร้อน 80.8 เปิด 4 เดือน (ก.ค - ต.ค.) 2.3 97.7 เปิด 5 เดือน (ก.ค. - พ.ย.) 2.4 97.6 เปิด 8 เดือน (เม.ย. - พ.ย.) 3.0 97.0 ร้อยละ 20 40 60 80 100

14 ความเดือดร้อนจากการเปิด-ปิดประตูระบายน้ำ อำเภอพิบูลมังสาหาร
ความเดือดร้อนจากการเปิด-ปิดประตูระบายน้ำ อำเภอพิบูลมังสาหาร การเปิด - ปิดประตูระบายน้ำ ปิดตลอดปี 21.9 78.1 เดือดร้อน 16.7 เปิดตลอดปี ไม่เดือดร้อน 83.3 เปิด 4 เดือน (ก.ค - ต.ค.) 2.3 97.7 เปิด 5 เดือน (ก.ค. - พ.ย.) 2.1 97.9 เปิด 8 เดือน (เม.ย. - พ.ย.) 2.4 97.6 ร้อยละ 20 40 60 80 100

15 ความเดือดร้อนจากการเปิด-ปิดประตูระบายน้ำ อำเภอโขงเจียม
ความเดือดร้อนจากการเปิด-ปิดประตูระบายน้ำ อำเภอโขงเจียม การเปิด - ปิดประตูระบายน้ำ ปิดตลอดปี 19.1 80.9 เดือดร้อน 22.5 เปิดตลอดปี ไม่เดือดร้อน 77.5 เปิด 4 เดือน (ก.ค - ต.ค.) 4.6 95.4 เปิด 5 เดือน (ก.ค. - พ.ย.) 4.9 95.1 เปิด 8 เดือน (เม.ย. - พ.ย.) 7.2 92.8 ร้อยละ 20 40 60 80 100

16 ความเดือดร้อนจากการเปิด-ปิดประตูระบายน้ำ อำเภอสิรินธร
ความเดือดร้อนจากการเปิด-ปิดประตูระบายน้ำ อำเภอสิรินธร การเปิด - ปิดประตูระบายน้ำ ปิดตลอดปี 19.9 80.1 เดือดร้อน 25.0 เปิดตลอดปี ไม่เดือดร้อน 75.0 เปิด 4 เดือน (ก.ค - ต.ค.) 0.9 99.1 เปิด 5 เดือน (ก.ค. - พ.ย.) 1.5 98.5 เปิด 8 เดือน (เม.ย. - พ.ย.) 2.0 98.0 ร้อยละ 20 40 60 80 100

17 ความเดือดร้อนจากการเปิด-ปิดประตูระบายน้ำ อาชีพประมง
ความเดือดร้อนจากการเปิด-ปิดประตูระบายน้ำ อาชีพประมง การเปิด - ปิดประตูระบายน้ำ ปิดตลอดปี 54.4 45.6 เดือดร้อน 33.0 เปิดตลอดปี ไม่เดือดร้อน 67.0 เปิด 4 เดือน (ก.ค - ต.ค.) 7.8 92.2 เปิด 5 เดือน (ก.ค. - พ.ย.) 7.8 92.2 เปิด 8 เดือน (เม.ย. - พ.ย.) 7.9 92.1 ร้อยละ 20 40 60 80 100

18 เรื่องความเดือดร้อนที่สำคัญที่ได้รับ
ร้อยละผู้เดือดร้อน การเปิด-ปิด ประตูระบายน้ำ ความเดือดร้อนที่สำคัญที่จะได้รับ 1. ภาวะน้ำท่วม (48.4%) 2. ปริมาณปลา/กุ้งลดลง (20.6%) 3. สูญเสียระบบนิเวศน์วิทยา (14.4%) 4. สูญเสียพันธ์ปลา (10.4%) 5. ขาดแคลนน้ำ ( 9.0%) ปิดตลอดปี 21.1 1. ขาดแคลนน้ำ (53.3 %) ปริมาณปลา/กุ้งลดลง (18.7%) 3. ทำนาปรัง/ปลูกพืชไม่ได้ (11.7%) 4. ภาวะน้ำท่วม (10.9%) 5. ไฟฟ้าขัดข้อง (7.2%) เปิดตลอดปี 19.2

19 เรื่องความเดือดร้อนที่สำคัญที่ได้รับ
การเปิด-ปิด ประตูระบายน้ำ ร้อยละผู้เดือดร้อน ความเดือดร้อนที่สำคัญที่จะได้รับ 1. ภาวะน้ำท่วม (32.0%) 2. ปริมาณปลา/กุ้งลดลง (26.3%) 3. ขาดแคลนน้ำ (9.9%) 4. รายได้ลดลง (6.7%) 5. ไฟฟ้าขัดข้อง (5.2%) เปิด 4 เดือน 2.3 1. ภาวะน้ำท่วม (34.9%) 2. ปริมาณปลา/กุ้งลดลง (22.3%) 3. ขาดแคลนน้ำ (7.8%) 4. สูญเสียระบบนิเวศน์วิทยา (6.7%) 5. ไฟฟ้าขัดข้อง (6.3%) เปิด 5 เดือน 2.4

20 เรื่องความเดือดร้อนที่สำคัญที่ได้รับ
การเปิด-ปิด ประตูระบายน้ำ ร้อยละผู้เดือดร้อน ความเดือดร้อนที่สำคัญที่จะได้รับ 1. ขาดแคลนน้ำ (33.6%) 2. ภาวะน้ำท่วม (19.0%) 3. ปริมาณปลา/กุ้งลดลง (11.4%) 4. ไฟฟ้าขัดข้อง (7.5%) 5. ทำนาปรังและปลูกพืชไม่ได้ (7.4%) เปิด 8 เดือน 3.0

21 สรุปความคิดเห็นการเปิด-ปิดประตูระบายน้ำที่หมาะสม และเป็นประโยชน์แก่คนส่วนใหญ่มากที่สุด
การเปิด - ปิดเขื่อน ปิดตลอดปี 6.8 เปิดตลอดปี 6.6 เปิด 4 เดือน (ก.ค - ต.ค.) 23.9 เปิด 5 เดือน (ก.ค. - พ.ย.) 5.5 เปิด 8 เดือน (เม.ย. - พ.ย.) 7.5 แล้วแต่รัฐบาลเห็นควร 19.1 เปิด-ปิดให้เป็นเวลา 13.7 เปิดช่วงเวลาปลาวางไข่ 4.5 ไม่แสดงความคิดเห็น่ 12.4 ร้อยละ 5 10 15 20 25

22 สรุปความคิดเห็นการเปิด-ปิดประตูระบายน้ำที่หมาะสม และเป็นประโยชน์แก่คนส่วนใหญ่มากที่สุด
พื้นที่ที่อยู่อาศัย ติดริมแม่น้ำมูล เห็นควรเปิด 4 เดือน % ไม่ติดริมแม่น้ำมูล แล้วแต่รัฐบาลเห็นควร % อำเภอ พิบูลมังสาหาร แล้วแต่รัฐบาลเห็นควร % เห็นควรเปิด 4 เดือน % โขงเจียม เห็นควรเปิด 4 เดือน % สิรินธร เห็นควรเปิด 4 เดือน %

23 สรุปความคิดเห็นการเปิด-ปิดประตูระบายน้ำที่หมาะสม และเป็นประโยชน์แก่คนส่วนใหญ่มากที่สุด
อาชีพ ทำนา เห็นควรเปิด 4 เดือน % ทำสวน / ทำไร่ เห็นควรปิดตลอดปี % เห็นควรเปิด 4 เดือน % ประมง เห็นควรเปิด 4 เดือน % รับจ้างทั่วไป/กรรมกร แล้วแต่รัฐบาลเห็นควร % เห็นควรเปิด 4 เดือน % ค้าขาย เห็นควรเปิด 4 เดือน % รับราชการ/ลูกจ้างเอกชน เห็นควรเปิด 4 เดือน %


ดาวน์โหลด ppt สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google