ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยJaturun Lertkunakorn ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
11-17 เมษายน 2554
2
เกิดอุบัติเหตุ 3,215 ครั้ง ลดลงจากปี ก่อน 8.56 % จังหวัดสูงสุด คือ นครศรีธรรมราช (135) รองลงมา คือ นครสวรรค์ (115) และ เชียงราย (114) จำนวนผู้บาดเจ็บ 3,476 คน ลดลงจาก ปีก่อน 8.57 % จังหวัดสูงสุด คือ นครศรีธรรมราช (144) รองลงมา คือ นครสวรรค์ (121) และ เชียงราย (121) จำนวนผู้เสียชีวิต 271 ราย ลดลงจากปี ก่อน 24.93 % จังหวัดสูงสุด คือ พระนครศรีอยุธยา (19) รองลงมา คือ นครสวรรค์ (13) และ กรุงเทพฯ (12)
5
ประเภทรถ : จักรยานยนต์ 81.12 % ปิกอัพ 10.03 % เมาสุราแล้วขับ 38.76 % ขับรถเร็วเกินกำหนด 20.53 % ตัดหน้ากระชั้นชิด 13.72 % ไม่สวมหมวกนิรภัย 32.59 % อายุต่ำกว่า 15 ปี 10.12 % วัยแรงงาน 60.40 % เกิดนอกเขตทางหลวง ร้อยละ 67 ช่วงเวลา 16:01 -20:00 น. ร้อยละ 31.73 ช่วงเวลา 12:01-16:00 น. ร้อยละ 25.75
6
ประเด็นเสียชีวิตบาดเจ็บ คนในพื้นที่ตำบล 155 (60%)2,623 (75%) ผู้ขับขี่ 149 (58%)2,439 (70%) มอเตอร์ไซค์ 66.82%81.57% ไม่สวมหมวกนิรภัย 23.25%33.31% เมาสุรา 22.73%39.55% ขับรถเร็วเกินกำหนด 35.00%19.68% ตัดหน้ากระชั้นชิด 20.45%13.41% ถนนกรมทางหลวง 58.64%31.62% เสียชีวิตในที่เกิดเหตุ 63.95%
7
จำนวนรถรวมทุกประเภท 28,795,597 คัน มอเตอร์ไซค์ 17,295,021 คัน ( ร้อยละ 60) รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล 4,945,217 คัน ( ร้อยละ 17) รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกินสี่ที่นั่ง 4,605,388 คัน ( ร้อยละ 16)
8
สาเหตุ 254925502551255225532554 เมา - ปีใหม่ 37.0041.9740.8041.0840.4641.24 เมา - สงกรานต์ 36.8139.5640.5640.6639.3638.76 ขับเร็ว - ปีใหม่ 20.1922.4621.3922.9120.1220.42 ขับเร็ว - สงกรานต์ 18.1318.6723.0019.6920.6820.53 ตัดหน้า - ปี ใหม่ 10.1810.4812.0013.3914.0114.76 ตัดหน้า - สงกรานต์ 10.5110.6711.5010.9612.2913.72
9
เหนืออิสานกลางใต้ สงกรานต์ 53 54.7545.5527.3125.32 สงกรานต์ 54 50.1050.8430.1922.97
11
25502551255225532554 ไม่สวม หมวกนิรภัย 53.0449.4051.5930.7532.59 ไม่คาดเข็ม ขัดนิรภัย 4.723.834.183.172.72
12
ค่าเฉลี่ยทั้งปี ปี 51-53 เกิดอุบัติเหตุ วันละ 232 ครั้ง เสียชีวิต วันละ 30 ราย ช่วงปีใหม่ 54 เกิดอุบัติเหตุ วันละ 500 ครั้ง เสียชีวิต วันละ 51 ราย ช่วงสงกรานต์ 54 เกิดอุบัติเหตุ วันละ 459 ครั้ง เสียชีวิต วันละ 39 ราย
13
มีอุบัติเหตุเกิดขึ้น 135 ครั้ง ยอดผู้บาดเจ็บ 144 ราย และมีผู้เสียชีวิต 9 ราย โดยส่วนใหญ่เป็น อุบัติเหตุจากการขับรถตัดหน้าในระยะกระชั้นชิด ส่วนประเภทของยานพาหนะที่เกิดอุบัติเหตุมาก ที่สุดคือรถมอเตอร์ไซค์ รองลงมาเป็นรถปิคอัพ ส่วนประเภทถนนที่เกิดอุบัติเหตุสูงสุด คือถนนใน อบต./ หมู่บ้าน รองลงมาเป็นถนนในเขตเมืองและ เทศบาล โดยพื้นที่ที่มีตัวเลขการเกิดอุบัติเหตุ สูงสุด คือ อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช มีอุบัติ เกิดขึ้นทั้งสิ้น 38 ครั้ง รองลงมาเป็นอำเภอทุ่งสง และอำเภอท่าศาลา อำเภอละ 12 ครั้ง ส่วนอำเภอ ที่มีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุมี 7 อำเภอคือ อำเภอ พรหมคีรี, ชะอวด, สิชล, บางขันและเฉลิมพระเกียรติ มีผู้เสียชีวิตอำเภอละ 1 ราย และอำเภอท่าศาลา และทุ่งสง อำเภอละ 2 ราย นายธีระ มินทราศักดิ์ ผู้อำนวยการศูนย์ความปลอดภัยทางถนนช่วง เทศกาลสงกรานต์ 2554 จังหวัดนครศรีธรรมราช
14
ในวันที่ 13 เมษายน สำรวจใน 27 จังหวัด คือ สระบุรี ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว นครนายก สมุทรปราการ นครปฐม ขอนแก่น อุดรธานี อุบลราชธานี เลย พิษณุโลก สุโขทัย ตาก อุตรดิตถ์ เชียงใหม่ ลำพูน นครศรีธรรมราช สงขลา สตูล ยะลา ตรัง และปัตตานี พบมี ประเด็นสำคัญดังนี้ สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงหรือร้านค้าในบริเวณ สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 824 แห่งพบ การกระทำผิด 12 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 1.46 ซึ่งต่ำ กว่าเทศกาลสงกรานต์ปี 2553 (2.70 %) ในเวลาห้ามขาย สำรวจจำนวน 5,541 แห่ง พบการ กระทำผิด จำนวน 209 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 3.77 ซึ่ง มากกว่าเทศกาลสงกรานต์ 2553 (2.72 %)
15
จากการสำรวจการขายสุราในร้านค้าที่ขายใน เวลาห้ามขาย พบว่าในจังหวัดที่มีผู้เสียชีวิตและ บาดเจ็บเป็นอันดับต้นๆ จะมีอัตราการกระทำผิด สูง ร้อยละ 40-90 โดยเป็นร้านค้าที่อยู่ในถนน สายหลักและสายรองใกล้เคียงกัน เช่น จังหวัด นครศรีธรรมราช เชียงใหม่ สุพรรณบุรี ขอนแก่น อุดรธานี สุโขทัย ตาก สุราษฎร์ ธานี ฯลฯ ร้านค้าส่วนใหญ่ทราบว่ามีกฎหมายบังคับใช้ อาจเป็นเพราะว่ามีการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ อย่างกว้างขวาง แต่ที่ยังกระทำผิดเกิดจาก สาเหตุ คือ ต้องการหารายได้ เพราะในช่วง เทศกาลจะขายดีมาก คิดว่าช่วงเทศกาลน่าจะ ยกเว้นให้ขายได้ เป็นความเข้าใจผิด และเห็น ว่าไม่มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.