ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
การสัมมนาวิชาการ ประจำปี คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ “ได้เวลาปฏิรูป เพื่อเศรษฐกิจที่เป็นธรรม” กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
2
ยุทธศาสตร์การพัฒนาในระยะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมั่งคงของอาหารและพลังงาน ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่งคงทางเศรษฐกิจและสังคม ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
3
ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม
ให้ความสำคัญสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ให้ทุกคนในสังคม เข้าถึง บริการทางสังคมที่มีคุณภาพ ให้ทุกคนมีโอกาส เข้าถึง ทรัพยากร และโครงสร้างพื้นฐานในการสร้างอาชีพและรายได้ที่มั่นคง ให้ทุกคนสามารถ เข้าถึง กระบวนการยุติธรรมอย่างเสมอภาค ให้ทุกคนสามารถ ดำรง อยู่ได้อย่างมีศักดิ์ศรี ภายใต้ ระบบบริหารจัดการภาครัฐที่โปร่งใส ยึดประโยชน์ส่วนร่วม เปิดโอกาส การมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วน
4
ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน
ให้ความสำคัญกับการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ บนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ภูมิปัญญา มีปัจจัยพื้นฐานที่เอื้ออำนวย และระบบการแข่งขันที่เป็นธรรม ปรับโครงสร้างการค้าและการลงทุนให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสาขาบริหารที่มีศักยภาพ พัฒนาภาคอุตสาหกรรมสู่อุตสาหกรรมฐานความรู้เชิงสร้างสรรค์ และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม พัฒนา Logistics ปฏิรูปกฎหมายและกฎระเบียบบริหารจัดการเศรษฐกิจส่วนรวมอย่างมีประสิทธิภาพ
5
ปัจจัยเสี่ยง/ข้อจำกัด
การนำแผนพัฒนาไปใช้ประโยชน์อย่างจริงจังในทางปฏิบัติมีน้อย เพราะภาคการเมืองยึดนโยบายพรรค ฯลฯ ระยะเวลาการจัดสรรงบประมาณไม่สอดคล้องกับการประกาศให้แผนพัฒนา งบประมาณสูงขึ้นแต่ข้อจำกัดด้านบริหารยังไม่มีประสิทธิภาพ การขับเคลื่อนแผนพัฒนาประเทศขาดการกำกับดูแลในภาพรวม ทุจริตและคอรัปชั่น
6
ปัจจัยเสริมสร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการแผนพัฒนา
ภาคราชการมีเครื่องมือใหม่ กระจายอำนาจ เสริมการบริหาราชการ ภาคชุมชนและภาคประชาชนเข้มแข็งขึ้น และมีโอกาสในการมีส่วนร่วมในการบริหารประเทศ ภาคธุรกิจเอกชนตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศมีแนวคิดการดำเนินธุรกิจที่รับผิดชอบต่อสังคมและทำธุรกิจเพื่อสังคมมากขึ้น การเสริมสร้างธุรกิจชุมชน การต่อต้านการทุจริตประพฤติมิชอบ ภาควิชาการตื่นตัว และได้รับการยอมรับมากขึ้นในฐานะแกนหลักของการพัฒนาในช่วงต่อไปงานวิจัยลงสู่พื้นที่มากขึ้น
7
เป้าหมายธุรกิจ : Triple Bottom Line
กำไรทางเศรษฐศาสตร์ กำไรและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม กำไรและผลกระทบต่อสังคม
8
ดัชนีการวัดเป้าหมายทางธุรกิจ : Human Impact & Profit (HIP Index)
ดัชนีการวัดเป้าหมายทางธุรกิจ : Human Impact & Profit (HIP Index) โดย Paul Herman 2010 ศึกษาผลกระทบต่อคน 5 ด้านได้แก่ สุขภาพ (กายและใจ) ความมั่งคั่งอย่างมั่นคง สิ่งแวดล้อม ความเสมอภาค / ความเป็นธรรม ความน่าเชื่อถือ / ความโปร่งใส / ความมีคุณธรรมและจริยธรรมทางธุรกิจ
9
ภาคปฏิบัติ ตัวอย่างจากภาคธุรกิจ
ค่าแรง การดูแลพนักงาน การดูแลลูกค้า การมีจริยธรรมทางธุรกิจ ตัวอย่างความร่วมมือระหว่างภาคธุรกิจ, องค์กรที่ไม่แสวงหากำไร และภาคการศึกษา โครงการจิตอาสา แผนธุรกิจโดยมีความคิดสร้างสรรค์และสร้างมูลค่าเพิ่ม การปรับปรุงหลักสูตรการศึกษา ฯลฯ
10
สรุป การปฏิรูปจะสำเร็จหรือไม่นั้น ต้องมีวิธีการและมาตรการ ทั้งระยะสั้นและระยะยาว แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ที่มีเน้นเรื่องการศึกษาเป็นแผนระยะยาว ระยะสั้น ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในการลงมือปฏิบัติ ผลักดันให้เกิดการสร้างเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นธรรม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.