งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรงพยาบาล และองค์การเภสัชกรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรงพยาบาล และองค์การเภสัชกรรม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรงพยาบาล และองค์การเภสัชกรรม
การบริหารโครงการ VMI โรงพยาบาล และองค์การเภสัชกรรม

2 การบริหารโครงการ VMI โดย โรงพยาบาล + องค์การเภสัชกรรม
วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การบริหารสินค้าคงคลังและการกระจายยา เพื่อให้มียาหมุนเวียนและกระจายไปทั่วประเทศได้อย่างสม่ำเสมอ และสามารถบริการผู้ป่วยให้ได้รับยารักษาอย่างต่อเนื่อง

3 วิธีการเข้าโครงการ VMI (1)
เข้าเว็บไซต์ VMI โดยการพิมพ์ url

4 วิธีการเข้าโครงการ VMI (2)
หรือเข้าผ่านเว็บไซต์อภ. เลือกผลิตภัณฑ์/บริการ -> VMI/SMI

5 วิธีการเข้าโครงการ VMI (3)

6 วิธีการเข้าโครงการ VMI (4)
พิมพ์แบบฟอร์ม FM2 ที่ต้องการ

7 วิธีการเข้าโครงการ VMI (5)
แบบฟอร์ม FM2 มี 3 ประเภทดังนี้ FM2/1 ยา อภ. FM2/2 ยา อภ. นอกเหนือ VMI FM2/3 ยาที่ อภ. มิได้ผลิตแต่มีจำหน่าย

8 วิธีการเข้าโครงการ VMI (6)
ใส่ประมาณการใช้ยาทั้งหมดที่เลือกตามระยะเวลาที่เข้าโครงการ ใส่ประมาณการใช้ยาต่อเดือนของแต่ละรายการที่เลือก เลือก Safety Stock ที่ต้องการ (7 วัน, 15 วัน, 30 วัน) ใส่ชื่อผู้ให้ข้อมูล, ผู้รับยา, รายละเอียดสถานที่ส่งยา Fax เอกสารมาที่ เบอร์ ,

9 ตัวอย่างแบบฟอร์ม FM2

10 แนวทางการทำ VMI ของ โรงพยาบาล กับ อภ.
การส่งข้อมูลสินค้าคงคลังทาง Internet ใน Website ของ GPO โดยบันทึกข้อมูลสินค้าคงคลัง

11 กระบวนการทำงานของระบบ VMI
คลังยาโรงพยาบาล องค์การเภสัชกรรม Upload or Key in Onhand ตรวจสอบ VMI Onhand ส่งของพร้อม Invoice และรายงานฯ

12 วิธีการใช้งานระบบ VMI (1)
เข้าเว็บไซต์ VMI ใส่ username และ password จากนั้นกดปุ่ม เข้าสู่ระบบ

13 วิธีการใช้งานระบบ VMI (2)
คลิกเมนู บันทึก Inventory

14 วิธีการใช้งานระบบ VMI (2)
1. ถ้าใส่วงเงินไว้ ระบบจะตรวจสอบขณะบันทึก และแถบบอกสถานะจะเปลี่ยนสีตามยอดเงิน ในใบสั่งซื้อ โดยแยกตามประเภทของยา อภ., ผลิต (FM2/1),ยา อภ.ผลิต (FM2/2) และ ยาผู้ผลิตอื่น (FM2/3) 2. ถ้าเลือกงบประมาณ จะนำไปแสดงให้ที่ใบสั่งซื้อ, และสามารถแจ้งข้อความให้ อภ. ได้ในช่องหมายเหตุ แถบบอกสถานะ จะเปลี่ยนสีไปตามยอดเงินในใบสั่งซื้อเทียบกับวงเงินที่กำหนด (1-50%) (51-80%) (81-100%) (เกินวงเงิน)

15 วิธีการใช้งานระบบ VMI (3)
3. กดปุ่ม + เพื่อเลือกกลุ่มยาที่จะบันทึก Onhand หรือเลือกแสดงทุกรายการ โดยไม่จัดกลุ่มยาก็ได้ (จำนวนตัวเลขในวงเล็บ คือ จำนวนรายการที่ทำสัญญา VMI ไว้กับองค์การเภสัชกรรม)

16 วิธีการใช้งานระบบ VMI (4)
4. ใส่ยอด Onhand ให้สังเกตแถบบอกสถานะจะเปลี่ยนสีตามยอดเงินในใบสั่งซื้อ 5. กด save

17 วิธีการใช้งานระบบ VMI (5)

18 วิธีการใช้งานระบบ VMI (6)
คลิกที่นี่ เพื่อบันทึก Inventory ต่อ

19 วิธีการใช้งานระบบ VMI (7)
การบันทึก Onhand ถ้าต้องการยารายการใดให้บันทึก Onhand เฉพาะรายการนั้น ๆ ถ้าค่า Onhand เป็นศูนย์ ให้ใส่ค่าศูนย์ ถ้าไม่ใส่ระบบจะถือว่าไม่ต้องการบันทึก (OnProcess หมายถึง จำนวนยาที่อยู่ระหว่างดำเนินการจัดส่ง)

20 วิธีการใช้งานระบบ VMI (8)
Ship VMI = จำนวนสินค้าที่ระบบคำนวณให้อัตโนมัติ Ship Order = จำนวนสินค้าที่ต้องการให้ส่งในครั้งนี้สามารถแก้ไขจากจำนวนที่ระบบคำนวณได้(รายการใดมียอดจะเป็นรายการที่จะปรากฏในใบสั่งซื้อ ) Amount = จำนวน Ship Order x ราคาต่อหน่วย

21 วิธีการใช้งานระบบ VMI (9)
เมื่อ รพ. ตรวจสอบการบันทึกว่าถูกต้องครบถ้วนแล้วให้คลิก Post Inventory เพื่อส่งข้อมูลให้องค์การเภสัชกรรม

22 วิธีการใช้งานระบบ VMI (10)
หน้าจอแสดงผลการส่งข้อมูล ให้กดปุ่ม F5 เพื่อ Refresh Page จากนั้นให้คลิกปฎิทิน เพื่อดูข้อมูลหรือพิมพ์

23 วิธีการใช้งานระบบ VMI (11)
1. คลิก ที่วันที่ปฎิทิน 2. คลิก พิมพ์ใบสั่งซื้อ

24 วิธีการใช้งานระบบ VMI (12)
คลิกเลือก Adobe (PDF) File เพื่อ Export รายงานเป็น PDF

25 วิธีการใช้งานระบบ VMI (13)
คลิก Export

26 วิธีการใช้งานระบบ VMI (14)
เลือก save หรือ เปิดไฟล์ เพื่อใช้พิมพ์รายงานต่อไป

27 วิธีการใช้งานระบบ VMI (15)
ในกรณีที่ Post Inventory แล้ว แต่ต้องการจะเพิ่มเติมแก้ไขข้อมูลให้เลือกแหล่งข้อมูลที่เคย Post Inventory ภายในวันเดียวกันได้ ดังนี้ ใช้ข้อมูลเดิมมาแก้ไข : ระบบจะดึงข้อมูลที่เคยPost Inventory ครั้งล่าสุดภายในวันนั้นขึ้นมาให้บันทึกใหม่ทั้งหมด เมื่อเลือกแหล่งข้อมูลที่ต้องการแล้วให้กด Submit

28 วิธีการใช้งานระบบ VMI (16)
สามารถทำการแก้ไขได้ภายในเวลา น. ของวันนั้น หากเลยกำหนดเวลาแล้วท่านจะไม่สามารถแก้ไขได้ ให้ทำการส่ง Inventory ของวันใหม่มาแทน

29 วิธีการใช้งานระบบ VMI (17)
กรณีที่เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดชอบหลายโครงการ สามารถกำหนด Username เดียวเข้าใช้งานระบบ VMI หลายโครงการได้ (Single Sign-On) คลิก VMI เลือกโครงการ กด Submit ระบบจะเปลี่ยนโครงการตามที่เลือกผู้ใช้สามารถส่งข้อมูลสินค้าคงคลังให้องค์การเภสัชกรรมได้ทุกโครงการ โดยไม่ต้อง Login ใหม่

30 ระบบ VMI แบบ Upload แฟ้มข้อมูล (1)

31 ระบบ VMI แบบ Upload แฟ้มข้อมูล (2)
ประเภทแฟ้มข้อมูลและชนิดของไฟล์ที่หน่วยบริการสามารถ Upload เข้า VMI ได้ (เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง) ชนิดของไฟล์ที่จะ Upload - TXT (Text) - XLS (Excel) ข้อมูลในไฟล์ที่จะ Upload - PO หน่วยบริการส่งจำนวนยาที่ต้องการ (Shipqty) เข้าระบบ - STOCK หน่วยบริการส่งยอด Onhand เข้าระบบ เพื่อคำนวณเป็นยอด Shipqty

32 ระบบ VMI แบบ Upload แฟ้มข้อมูล (3)

33 หน่วยบริการ/โรงพยาบาล ที่มีความประสงค์จะใช้ระบบ Single Sign-On ให้ปฏิบัติดังนี้ (1)
เข้าเว็บไซต์ VMI คลิกเลือกหัวข้อ เอกสารทั่วไป VMI/SMI เพื่อ Download แบบฟอร์ม

34 หน่วยบริการ/โรงพยาบาล ที่มีความประสงค์จะใช้ระบบ Single Sign-On ให้ปฏิบัติดังนี้ (2)
กรอกแบบฟอร์ม Fax ส่งมาที่องค์การเภสัชกรรมตามหมายเลขในแบบฟอร์ม อภ. จะส่ง Username/Password ใหม่ให้ทาง ที่ระบุในแบบฟอร์ม

35 การเปลี่ยน Password ในระบบ VMI
2. ใส่ Password เดิม ที่ Current Password 3. ใส่ Password ใหม่ ที่ New Password 4. ใส่ Password ใหม่อีกครั้งเพื่อยืนยันที่Confirm Password 5. คลิกปุ่ม Change Passwordระบบจะทำการเปลี่ยน Password ให้ใหม่ เมื่อ Login เข้าระบบ ต้องใช้ Password ใหม่ 1. คลิก Setting

36 การเปลี่ยนการเรียงลำดับรายการยา
2. คลิก เรียงลำดับรายการยา 3. เลือกการเรียงลำดับรายการยาที่ต้องการ เรียงลำดับรายการตาม FM2 ชื่อยา จะเรียงจาก A - Z 4. คลิกปุ่ม Submitระบบจะทำการเปลี่ยนการเรียงลำดับรายการยาให้ใหม่เมื่อ Login เข้าระบบครั้งต่อไปจะเป็นตามที่เลือกไว้ครั้งล่าสุด 1. คลิก Setting

37 ช่องทางการติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
โรงพยาบาล ผู้รับผิดชอบ เบอร์ติดต่อ รพ.ในเขต กทม. และปริมณฑล ภก.อำพล มือถือ รพ.ในเขตภาคกลาง ภาคตะวันออก, ภาคเหนือ, ภาคใต้, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภญ.กาญจนา มือถือ สาขาภาคเหนือ ภญ.นัยนา ปทานุคม, คุณสุภาภรณ์ เครือคำบุตร , สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภญ.นิตยา โชคสวัสดิ์, ภก.ธงไชย วสุนทราวัฒน์ ต่อ 102,105, สาขาภาคใต้ ภก.สุริยันต์ โพธิ์เสนา, ภก.ธีรสิทธิ์ แสงจันทร์ทะนุ


ดาวน์โหลด ppt โรงพยาบาล และองค์การเภสัชกรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google