ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การบริหารกำลังคน กรมควบคุมโรค
โดย ธัญลักษณ์ เอกอุ่น รักษาการในตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลเชี่ยวชาญ ปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการกองการเจ้าหน้าที่
2
ผู้บริหารกรมควบคุมโรค
นายแพทย์สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดี นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี นายแพทย์ธนรักษ์ ผลิพัฒน์ รองอธิบดี นายแพทย์สมบัติ แทนประเสริฐสุข นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ รักษาราชการแทนรองอธิบดี
3
โครงสร้างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข
31 ธ.ค. 61 โครงสร้างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข กลุ่มภารกิจ ด้านพัฒนาการแพทย์ กลุ่มภารกิจ ด้านพัฒนาการสาธารณสุข กลุ่มภารกิจ ด้านสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมควบคุมโรค กรมอนามัย กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ กรมสนับสนุน บริการสุขภาพ กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต สำนักคณะกรรมการอาหารและยา กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก สำนักงานปลัดกระทรวง สำนักส่วนกลาง หน่วยปฏิบัติการในภูมิภาค สาธารณสุขจังหวัด/อำเภอ สถานบริการสุขภาพ
4
ภารกิจตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2552 มีภารกิจเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาการ เพื่อการควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพ โดยมีการศึกษา วิจัย พัฒนา รวมทั้งการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี เพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม วินิจฉัยและรักษาโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีจากการป้องกันและการควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพ
5
อำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2552 1 ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ กฎหมายว่าด้วยการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ กฎหมายว่าด้วยการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อนุสัญญาหรือกฎข้อบังคับระหว่างประเทศ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 2 ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรค และภัยที่คุกคามสุขภาพของประชาชน 3 เป็นศูนย์กลางในการส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานทางด้านวิชาการ เวชภัณฑ์ และวัสดุอุปกรณ์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม วินิจฉัย และรักษาโรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ
6
อำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2552 4 กำหนดและพัฒนานโยบาย กฎหมาย มาตรการและคุณภาพมาตรฐานการดำเนินงานในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และการควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพของประชาชน 5 ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และการควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพให้แก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและประชาชน 6 จัด ประสาน และพัฒนาระบบ กลไกและเครือข่ายในการเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกัน และการควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพ รวมทั้ง สื่อสัญญาณเตือนภัยการระบาดของโรคแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน
7
อำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2552 7 จัดให้มีบริการเพื่อรองรับการส่งต่อผู้ป่วยโรคติดต่อเฉพาะโรคติดต่อสำคัญ และโรคติดต่อร้ายแรงในระดับตติยภูมิ และกักกันผู้ป่วยโรคติดต่ออันตรายตามข้อตกลงระหว่างประเทศ 8 จัดให้มีบริการป้องกัน ควบคุม รักษา และฟื้นฟูสภาพโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพตลอดจนแหล่งแพร่โรค เพื่อให้ได้องค์ความรู้ในการพัฒนาวิชาการตามภารกิจของกรม 9 ดำเนินการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการเฝ้าระวังป้องกัน และการควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพ กรณีที่เป็นปัญหาวงกว้างเกิดโรคระบาดรุนแรงหรือมีแนวโน้มที่จะขยายตัวเป็นปัญหารุนแรง
8
อำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2552 10 ดำเนินการร่วมกับนานาประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคและปัญหาสุขภาพระหว่างประเทศ 11 พัฒนาระบบและกลไก เพื่อให้มีการดำเนินการบังคับใช้กฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบ 12 ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรม หรือตามที่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
9
ยุทธศาสตร์กรมควบคุมโรค
10
ปฏิบัติภารกิจตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ
ปฏิบัติภารกิจตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2552 ด้วยวิธีการดังนี้ 1. ส่งเสริมกระบวนการประสานความร่วมมือกับเครือข่ายภายในและระหว่างประเทศ ในการผลิตและพัฒนาผู้เชี่ยวชาญ องค์ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร เครื่องมือ กฎหมายการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ รวมทั้งบริการเฉพาะที่ได้มาตรฐานสากล 2. ส่งเสริม สนับสนุน ถ่ายทอด แลกเปลี่ยนความรู้ให้เครือข่ายและประชาชน 3. ผลักดันและติดตามการบังคับใช้กฎหมายที่จำเป็นต่อการปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ 4. เตรียมความพร้อมในการจัดการภาวะคุกคามและภัยสุขภาพใหม่ๆ ได้ทันการณ์ 5. พัฒนาและประเมินศักยภาพระบบ กลไกของเครือข่ายการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
11
โครงการและหลักการทำงาน ที่กรมควบคุมโรคให้ความสำคัญ ปีงบประมาณ พ. ศ
โครงการและหลักการทำงาน ที่กรมควบคุมโรคให้ความสำคัญ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 1. โครงการตามแนวพระราชดำริและโครงการเฉลิมพระเกียรติ 2. การพัฒนาสมรรถนะด้านการป้องกันควบคุมโรค และการลดโรคและภัยสุขภาพได้ตามข้อกำหนดหรือพันธะสัญญาระหว่างประเทศ เช่น เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน กฎอนามัยระหว่างประเทศ เป็นต้น 3. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยให้ความสำคัญกับระยะปฏิรูป 5 ปีแรก เพื่อเป็นรากฐานความสำเร็จในระยะต่อไป 4. แผนงานหรือโครงการที่สนับสนุนคำรับรองผลการปฏิบัติราชการกรมควบคุมโรคกับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2561 ซึ่งได้แก่ EOC, TB, OVCCA, CVD Risk, D-RTI
12
โครงการและหลักการทำงาน ที่กรมควบคุมโรคให้ความสำคัญ ปีงบประมาณ พ. ศ
โครงการและหลักการทำงาน ที่กรมควบคุมโรคให้ความสำคัญ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 5.การพัฒนากลไกการขับเคลื่อนเครือข่ายป้องกันควบคุมโรคระดับอำเภอ (โครงการอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งอย่างยั่งยืน) ภายใต้โครงสร้างคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) 6.การพัฒนาภาพลักษณ์กรมควบคุมโรค (วิชาการ/นวัตกรรม/เทคโนโลยีสารสนเทศ/สิ่งแวดล้อม) 7. การสร้างเสริมเอกภาพในการทำงาน การทำงานร่วมกันเป็นทีม การบูรณาการการทำงานทั้งในแนวระนาบและแนวดิ่ง 8. การพัฒนาผู้บริหาร ผู้เชี่ยวชาญ และบุคลากรทุกระดับให้มีความเชี่ยวชาญในตำแหน่งงาน บุคลากรภูมิใจในบทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบของตน มีความรักและผูกพันองค์กร อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีและปลอดภัย
13
แผนภูมิการแบ่งส่วนราชการ กรมควบคุมโรค
14
อัตรากำลังทุกประเภท (ตำแหน่ง) กรมควบคุมโรค
จำนวน ร้อยละ ข้าราชการ 3,110 47.06 พนักงานราชการ 1,013 15.34 ลูกจ้างประจำ 1,555 23.53 พนักงานกระทรวงสาธารณสุข 930 14.07 รวม 6,608 100.00
15
การกระจายอัตรากำลังกรมควบคุมโรคตามพื้นที่
หน่วยงาน ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้าง ประจำ พนักงานกระทรวงฯ รวม ร้อยละ ส่วนกลาง 1,329 376 198 776 2,679 41.16 สคร.ที่ 1-12 1,440 465 1319 117 3,341 51.34 หน่วยงานภายใน 241 172 38 37 488 7.50 3,010 1,013 1555 930 6,508 100.00
16
การกระจายอัตรากำลังกรมควบคุมโรคตามภารกิจ
ลำดับ ภารกิจ ข้าราชการ พนักงานราชการ รวม ร้อยละ 1 บริหาร 5 - 0.12 2 อำนวยการ 25 0.61 3 สายงานหลัก 1,983 401 2,384 57.82 4 สายงานรอง 346 113 459 11.13 สายงานสนับสนุน 751 499 1,250 30.32 3,110 1,013 4,123 100.00
17
อัตรากำลังกรมควบคุมโรค สายงานหลัก
ลำดับ ชื่อตำแหน่งในสายงาน ข้าราชการ พนักงานราชการ รวม 1 นายแพทย์ 226 227 2 นายสัตวแพทย์ 7 3 ทันตแพทย์ 4 นักวิชาการสาธารณสุข 1,019 270 1,289 5 พยาบาลวิชาชีพ 491 6 นักเทคนิคการแพทย์ 103 22 125 นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ 20 42 8 นักกีฏวิทยา 80 9 เภสัชกร 52
18
อัตรากำลังกรมควบคุมโรค สายงานหลัก (ต่อ)
ลำดับ ชื่อตำแหน่งในสายงาน ข้าราชการ พนักงานราชการ รวม 10 นักรังสีการแพทย์ 12 11 นักกายภาพบำบัด 5 2 7 นักจิตวิทยา 3 13 นักจิตวิทยาคลินิก 1 14 นักสังคมสงเคราะห์ 36 15 นักโภชนาการ 4 16 นักวิชาการอาชีวอนามัย
19
อัตรากำลังกรมควบคุมโรค สายงานรอง
ลำดับ ชื่อตำแหน่งในสายงาน ข้าราชการ พนักงานราชการ รวม 1 เจ้าพนักงานสาธารณสุข 224 105 329 2 เจ้าพนักงานเภสัชกรรม 26 4 30 3 เจ้าพนักงานรังสีการแพทย์ 8 เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ 56 5 เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข 6 พยาบาลเทคนิค 18 7 โภชนากร ช่างกายอุปกรณ์ 9 ช่างภาพการแพทย์ 10 เจ้าพนักงานเวชสถิติ 11 เจ้าพนักงานอาชีวบำบัด 12 เจ้าหน้าที่เวชระเบียน 13 พนักงานบริการ
20
อัตรากำลังกรมควบคุมโรค สายงานสนับสนุน
ลำดับ ชื่อตำแหน่งในสายงาน ข้าราชการ พนักงานราชการ รวม 1 นิติกร 31 54 85 2 นักจัดการงานทั่วไป 98 57 155 3 นักทรัพยากรบุคคล 39 63 102 4 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน 71 99 170 5 นักประชาสัมพันธ์ 22 26 6 นักวิเทศสัมพันธ์ 7 นักวิชาการเงินและบัญชี 66 27 93 8 นักวิชาการเผยแพร่ 29 30 9 นักวิชาการโสตทัศนศึกษา 10 นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 69 11 นักวิชาการตรวจสอบภายใน 12 นักวิชาการพัสดุ 25 19 44 13 นักวิชาการศึกษา 14 นักวิชาการสถิติ 15 บรรณารักษ์
21
อัตรากำลังกรมควบคุมโรค สายสนับสนุน (ต่อ)
ลำดับ ชื่อตำแหน่งในสายงาน ข้าราชการ พนักงานราชการ รวม 16 เจ้าพนักงานธุรการ 163 7 170 17 เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี 137 3 140 18 เจ้าพนักงานคอมพิวเตอร์ 29 19 เจ้าพนักงานพัสดุ 65 72 20 เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา 6 1 21 เจ้าพนักงานสถิติ 5 22 เจ้าพนักงานห้องสมุด 23 เจ้าหน้าที่ห้องสมุด 24 นายช่างเครื่องกล 25 นายช่างเทคนิค 4 26 นายช่างโยธา 2 27 นายช่างไฟฟ้า 28 นายช่างศิลป์
22
อัตรากำลังข้าราชการ จำแนกตามสายงาน/ระดับ
ลำดับที่ ชื่อตำแหน่งในสายงาน บริหาร อำนวยการ สูง ต้น 1 นักบริหาร 4 2 ผู้อำนวยการเฉพาะด้าน(แพทย์) 21 3 ผู้อำนวยการ
23
อัตรากำลังข้าราชการ จำแนกตามสายงาน/ระดับ (ต่อ)
ลำดับที่ ชื่อตำแหน่งในสายงาน ตำแหน่งประเภทวิชาการ/ระดับ ทว. ชช. ปก./ชก./ชพ. ชพ. ชก./ชพ. ปก./ชก. รวม 4 นายแพทย์ 23 63 140 226 5 นายสัตวแพทย์ 1 7 6 ทันตแพทย์ 3 เภสัชกร 2 12 37 52 8 นักเทคนิคการแพทย์ 17 85 103 9 พยาบาลวิชาชีพ 34 448 491 10 นักรังสีการแพทย์ 11 นักวิชาการสาธารณสุข 220 751 1021 นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ 14 20 13 นักกายภาพบำบัด นักโภชนาการ 15 นักจิตวิทยา 16 นักจิตวิทยาคลินิก นักสังคมสงเคราะห์ 29 35
24
อัตรากำลังข้าราชการ จำแนกตามสายงาน/ระดับ (ต่อ) ตำแหน่งประเภทวิชาการ
ลำดับที่ ชื่อตำแหน่งในสายงาน ตำแหน่งประเภทวิชาการ ตำแหน่งประเภททั่วไป รวม ปก./ชก. อาวุโส ปง./ชง. 18 ช่างภาพการแพทย์ 1 19 เจ้าพนักงานสาธารณสุข 44 179 223 20 เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข 21 เจ้าพนักงานเภสัชกรรม 26 22 เจ้าพนักงานรังสีการแพทย์ 8 23 เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ 56 24 เจ้าพนักงานเวชสถิติ 7 25 เจ้าพนักงานอาชีวบำบัด 2 ช่างกายอุปกรณ์ 27 พยาบาลเทคนิค 28 โภชนากร
25
อัตรากำลังข้าราชการ จำแนกตามสายงาน/ระดับ (ต่อ)
ลำดับที่ ชื่อตำแหน่งในสายงาน ตำแหน่งประเภทวิชาการ/ระดับ ทว. ชช. ปก./ชก./ชพ. ชพ. ชก./ชพ. ปก./ชก. รวม 29 นักทรัพยากรบุคคล 1 2 4 32 39 30 นิติกร 3 28 31 บรรณารักษ์ นักจัดการงานทั่วไป 24 74 98 33 นักประชาสัมพันธ์ 34 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน 14 53 71 35 นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 36 นักวิชาการเงินและบัญชี 62 66 37 นักวิชาการตรวจสอบภายใน 7 8 38 นักวิชาการเผยแพร่ นักวิชาการพัสดุ 25 40 นักวิชาการสถิติ 41 นักวิเทศสัมพันธ์
26
อัตรากำลังข้าราชการ จำแนกตามสายงาน/ระดับ (ต่อ)
ลำดับที่ ชื่อตำแหน่งในสายงาน ตำแหน่งประเภททั่วไป รวม อาวุโส ปง./ชง. 42 เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี 137 43 เจ้าพนักงานธุรการ 1 162 163 44 เจ้าพนักงานพัสดุ 64 65 45 เจ้าพนักงานสถิติ 5 46 เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา 6 47 เจ้าพนักงานห้องสมุด 48 นายช่างเครื่องกล 49 นายช่างเทคนิค 50 นายช่างไฟฟ้า 51 นายช่างโยธา 2 52 นายช่างศิลป์ 7
27
มาตรการบริหารและพัฒนากำลังคนภาครัฐ พ.ศ.2556 – 2561
28
มาตรการบริหารและพัฒนากำลังคนภาครัฐ พ.ศ.2556 – 2561 (ต่อ)
29
มาตรการบริหารและพัฒนากำลังคนภาครัฐ พ.ศ.2556 – 2561 (ต่อ)
การจัดสรรคืนอัตราว่างจากการเกษียณอายุของข้าราชการ พิจารณาจาก -: ประเภทส่วนราชการ • สน.พระราชวังและส่วนราชการที่มีอัตราไม่เกิน 1,000 อัตรา ไม่ต้องแจ้งยุบเลิก • ส่วนราชการที่มีอัตราข้าราชการเกิน 1,000 อัตรา : จัดสรรคืนทั้งหมดสำหรับตำแหน่งประเภทบริหาร และอำนวยการ / จัดสรรคืนให้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 ของตำแหน่งประเภทอื่นที่เกษียณ ในส่วนราชการนั้น • ให้ อ.ก.พ.กระทรวงพิจารณาจัดสรรส่วนที่เหลือ โดยพิจารณาประเภทภารกิจและประเภทตำแหน่งประกอบ ประเภทภารกิจ ภารกิจที่เป็นปัญหาสำคัญที่ต้องแก้ไขเร่งด่วนตามนโยบาย แผนบริหารราชการ ยุทธศาสตร์ประเทศ ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือภารกิจที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะ ประเภทตำแหน่ง ตำแหน่งในสายงานหลักและต้องใช้ข้าราชการปฏิบัติ ตำแหน่งตามมาตรฐานโครงสร้างอัตรากาลัง ตำแหน่งในสายงานขาดแคลน วิชาชีพเฉพาะ เชี่ยวชาญเฉพาะ ตำแหน่งที่มีอัตราการสูญเสียสูง
30
มาตรการบริหารและพัฒนากำลังคนภาครัฐ พ.ศ.2556 – 2561 (ต่อ)
31
มาตรการบริหารและพัฒนากำลังคนภาครัฐ พ.ศ.2556 – 2561 (ต่อ)
32
มาตรการบริหารและพัฒนากำลังคนภาครัฐ พ.ศ.2556 – 2561 (ต่อ)
33
มาตรการบริหารและพัฒนากำลังคนภาครัฐ พ.ศ.2556 – 2561 (ต่อ)
34
การบริหารและพัฒนากำลังคน กรมควบคุมโรค
วางแผนกำลังคน สรรหา พัฒนา รักษาไว้ ใช้ประโยชน์ ปริมาณ (จำนวน) กำลังคนเพียงพอ นักควบคุมโรค คุณภาพ (ดี + เก่ง) เชี่ยวชาญ ด้านระบาดวิทยา และ การควบคุมโรค
35
สมรรถนะที่จำเป็นของนักควบคุมโรค
Business Acumen Prevent /Detect /Respond นักควบคุมโรค General management 12 หลักสูตร E-learning สำนักงาน ก.พ. Customer Experience Project Management Problem Solving Presentation Skill Team Building Relationship Coaching Generation gap Learning Organization Persuasion Change Management Negotiation 3 หลักสูตรโดย สบช. Executive Development Program (EDP) Advanced Health Policy Training Program (APT) Advanced Management Program (AMP) ผบต. ผบก. นบสส นบส.ก.พ. วปอ หรือหลักสูตรอื่นที่เทียบเท่า Leadership สมรรถนะทางการบริหาร (ภาวะผู้นำ) MDC EDC LDC การควบคุมโรค การพัฒนานโยบายด้านการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ สรางและพัฒนาเครือขาย 6 สมรรถนะ Professional ระบาดวิทยา การวิจัยและพัฒนา (R&D) ติดตามและประเมินผล (M&E) Functional Competency กรมควบคุมโรค
36
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : HRH Strategy and Organization
แผนขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กำลังคนด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระยะ 5 ปี ( ) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ยุทธศาสตร์ที่ 1 : HRH Strategy and Organization มาตรการที่ HR Governance โครงการเสริมสร้าง ความเข้มแข็งในการขับเคลื่อนกำลังคน (Strengthen core HR organization) กรมควบคุมโรค มีคณะกรรมการกำลังคน กรมควบคุมโรค ที่สามารถขับเคลื่อนภารกิจด้านกำลังคนได้อย่างมีประสิทธิภาพ มาตรการที่ Human Resource Planning (HRP) โครงการวางแผนอัตรากำลัง กรมควบคุมโรค มีการวิเคราะห์และกำหนดกรอบอัตรากำลังให้สอดคล้องกับภารกิจที่ปรับเปลี่ยน) จัดสรรและเกลี่ยอัตรากำลังตามกรอบที่ควรจะเป็น มาตรการที่ HRH Information System โครงการพัฒนาฐานข้อมูลกำลังคนกรมควบคุมโรค มีฐานข้อมูลกำลังคน ที่ครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน มีข้อมูลเพื่อการตัดสินใจทางการบริหารได้
37
ยุทธศาสตร์ที่ 2 : HRH Development
แผนขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กำลังคนด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระยะ 5 ปี ( ) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ยุทธศาสตร์ที่ 2 : HRH Development มาตรการที่ Workforce capability โครงการพัฒนาสมรรถนะกำลังคนด้านป้องกันควบคุมโรค ประเมิน Competency (Core, Functional, Technical) เพื่อจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (IDP) พัฒนาสมรรถนะสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าราชการ กรมควบคุมโรค ปี จัดฝึกอบรมหลักสูตรทางการบริหารกรมควบคุมโรคอย่างต่อเนื่อง (MDC, EDC, LDC) เตรียมงบประมาณ : Mega Project โครงการพัฒนากำลังคนด้านระบาดวิทยาภาคสนามของประเทศไทย ประเทศไทยมีนักระบาดวิทยาภาคสนามตามเกณฑ์ ที่กำหนด โดยการพัฒนาตามหลักสูตร FETP, FEMT มาตรการที่ Talent HRH โครงการสร้างระบบการโค้ช (Coaching) และระบบพี่เลี้ยง (Mentoring) มีระบบ Coaching and Mentoring ภายในกรม รายงานผลการพัฒนาศักยภาพของผู้ถูกโค้ช (Coachee) รายงานผลการพัฒนาศักยภาพของน้องเลี้ยง (Mentee) มาตรการที่ Culture & Core value Change โครงการส่งเสริมการรับรู้ค่านิยม MOPH บุคลากรมีความรู้เกี่ยวกับค่านิยม MOPH ที่ถูกต้องตรงกัน บุคลากรมีพฤติกรรมสอดคล้องกับค่านิยม MOPH กรมมีบุคลากรต้นแบบค่านิยม MOPH กรมมีนวัตกรรมใหม่ๆ
38
ยุทธศาสตร์ที่ 3 : HRH Management
แผนขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กำลังคนด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระยะ 5 ปี ( ) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ยุทธศาสตร์ที่ 3 : HRH Management มาตรการที่ HR Recruitment Process โครงการพัฒนาระบบการสรรหาคัดเลือกบุคลากร บุคลากรที่ผ่านการสรรหาและคัดเลือกเป็น ผู้ที่มีสมรรถนะของ นักควบคุมโรค และ มีความรู้ความเข้าใจ ในวัฒนธรรม และค่านิยม กรมควบคุมโรค มาตรการที่ Retention Strategy & Happy Work Life โครงการธำรงรักษาบุคลากร บุคลากรมีความพึงพอใจในโอกาสก้าวหน้าในสายอาชีพ บุคลากรมีความพึงพอใจในสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ บุคลากรมีสมดุลชีวิตส่วนตัวกับการทำงาน โครงการสร้างสุขในองค์กร มีนักสร้างสุขในองค์กร อย่างน้อย 2 คน มีนักบริหารความสุขอย่างน้อย 1 คน มีผลการประเมินความสุขในองค์กร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 มีผลการประเมินความสุขรายบุคคล ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 มีแผนการสร้างสุขในองค์กร หน่วยงานผ่านการประเมินผลการจัดการความสุขในองค์กรร้อยละ 50 มาตรการที่ Performance Management โครงการพัฒนา ระบบบริหารผล การปฏิบัติงาน มีการประเมินผล การปฏิบัติงานบุคคลผ่านระบบออนไลน์ (PMS Online) มีการเชื่อมโยง ระบบบริหารผล การปฏิบัติงานกับการพัฒนาบุคลากรและระบบแรงจูงใจ
39
ยุทธศาสตร์ที่ 4 : HRH Network
แผนขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กำลังคนด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระยะ 5 ปี ( ) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ยุทธศาสตร์ที่ 4 : HRH Network มาตรการที่ Strengthen informal HRH sector โครงการสร้างความเข้มแข็งกำลังคนด้านสุขภาพ ภาคประชาชน มีกำลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภาคประชาชน ที่เข้มแข็ง มาตรการที่ Collaboration on HRH network โครงการสร้างและพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ มีภาคีเครือข่ายที่ให้ ความร่วมมือและสนับสนุนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ มาตรการที่ Corporate Communication โครงการสื่อสารเพื่อสร้างภาพลักษณ์กรมควบคุมโรค ประชาชนมีความเชื่อมั่น กรมควบคุมโรค ภาพลักษณ์ที่ดีของ กรมควบคุมโรค ไม่มีปัญหาฟ้องร้อง/ ข้อร้องเรียนต่อหน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค
40
แผนขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กำลังคนด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ปี 2561
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข HRH Development 1. วางแผนอัตรากำลัง กรมควบคุมโรค ทบทวนกรอบอัตรากำลังให้สอดคล้องกับบทบาทภารกิจตามแผนยุทธศาสตร์กรมควบคุมโรค 1. พัฒนาศักยภาพกำลังคนด้านระบาดวิทยาภาคสนาม 2. ส่งเสริมค่านิยม MOPH ให้เกิดการรับรู้ทั่วถึงทั้งองค์กร สื่อสารพฤติกรรมบ่งชี้ตามค่านิยม 1. พัฒนาความก้าวหน้าและค่าตอบแทนนักระบาดวิทยาภาคสนาม 2. สร้างสุขในองค์กร Happy Public Organization Index/ Happinometer 1. สร้างและพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 2. พัฒนาระบบและกลไกการสื่อสาร เพื่อสร้างภาพลักษณ์กรมควบคุมโรค HRH Strategy and Organization HRH Management HRH Network
41
กรอบอัตรากำลังที่ควรจะเป็นของกรมควบคุมโรค (ปี 2558 – 2561)
42
การบริหารอัตรากำลังให้สอดคล้องกับภาระงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2561
บุคลากร ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานกระทรวง ฯ ลูกจ้างชั่วคราว (รายเดือน) . ตรวจสอบการใช้อัตรากำลัง .. จัดสรรและเกลี่ยอัตรากำลัง ตามกรอบที่ควรจะเป็น ... ทบทวนกรอบอัตรากำลังให้สอดคล้องกับภารกิจ ความเพียงพอ ของบุคลากร ในการปฏิบัติงาน
43
เส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพ
44
ภาพแสดงเส้นทางสั่งสมประสบการณ์และผลงาน (Career Chart) สายงานแพทย์
45
ตำแหน่งเป้าหมาย : นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ ด้านเวชกรรมป้องกัน
46
ตำแหน่งเป้าหมาย : นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ ด้านเวชกรรมป้องกัน
47
ตำแหน่งเป้าหมาย : นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ ด้านเวชกรรมป้องกัน
48
ภาพแสดงเส้นทางสั่งสมประสบการณ์และผลงาน (Career Chart) สายงานนักวิชาการสาธารณสุข
49
ตำแหน่งเป้าหมาย : นักวิชาการสาธารณสุขทรงคุณวุฒิ
ภาพแสดงเส้นทางสั่งสมประสบการณ์และผลงาน (Career Chart) สายงานนักวิชาการสาธารณสุข
50
ตำแหน่งเป้าหมาย : นักวิชาการสาธารณสุขทรงคุณวุฒิ
51
ตำแหน่งเป้าหมาย : นักวิชาการสาธารณสุขทรงคุณวุฒิ
52
ตำแหน่งเป้าหมาย : นักวิชาการสาธารณสุขทรงคุณวุฒิ
53
Training Roadmap สำหรับนายแพทย์และนักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ
ปีที่อยู่ใน ตำแหน่ง ประเด็นการพัฒนา หลักสูตรการพัฒนา 1 1.เตรียมความพร้อม บุคลากรใหม่รองรับภารกิจ ของกรม 1.1 การปฐมนิเทศ 1.2 การเรียนรู้ด้วยตนเอง 1.3 การอบรมสัมมนาร่วมกัน 2.หลักการระบาดวิทยา เบื้องต้น 2. E-Learning หลักสูตรระบาดวิทยา เบื้องต้น 2-3 3.ความรู้เรื่องโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ โรคจาก การประกอบอาชีพและ สิ่งแวดล้อม หลักการเฝ้า ระวังป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพเบื้องต้น 3. หลักสูตรระบาดวิทยาก่อน ปฏิบัติการ (เพิ่มเติมพิเศษ เฉพาะผู้ปฏิบัติงานที่สำนัก ระบาดวิทยาและที่ สคร. ให้ เพิ่มเนื้อหาการเก็บสิ่งส่งตรวจ และรายงานการสอบสวนโรค) ปีที่ 3 ขึ้นไป 4.หลักการทำวิจัยขั้น พื้นฐาน 4. โครงการสร้างนักวิจัย (ต้น กล้าวิจัย) ปีที่ 4 ขึ้นไป 5.การวางแผนยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมโรค 5. โครงการสร้างภาวะผู้นำ ด้านการควบคุมโรค
54
Training Roadmap สำหรับนายแพทย์และนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
ปีที่อยู่ในตำแหน่ง ประเด็นการพัฒนา หลักสูตรการพัฒนา 1 1.หลักการระบาดวิทยา ภาคสนาม 1. หลักสูตรระบาดวิทยา ภาคสนาม 1-2 2.การประเมินผลโครงการ และการติดตามและ ประเมินผล 2. หลักสูตรวิจัยประเมิน เทคโนโลยี 3.ทักษะการเป็นวิทยากร 3. หลักสูตรการเป็น วิทยากร ปีที่ 2 ขึ้นไป 4.การวางแผนยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมโรค 4. โครงการสร้างภาวะ ผู้นำด้านการควบคุมโรค 3 5.หลักการวิจัย 5. หลักสูตรการบริหาร โครงการวิจัยสำหรับ หัวหน้าโครงการ ปีที่ 3 ขึ้นไป 6.พัฒนาภาวะผู้นำ 6. โครงการพัฒนานัก บริหารงานระดับต้น หรือเทียบเท่า ปีที่ 4 ขึ้นไป 7.การบริหารงานวิจัย 7. โครงการพัฒนา ศักยภาพนักวิจัยด้าน นโยบายและระบบการ ควบคุมโรค
55
Training Roadmap สำหรับนายแพทย์และนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
ปีที่อยู่ใน ตำแหน่ง ประเด็นการพัฒนา หลักสูตรการพัฒนา 1 1.หลักการระบาดวิทยา ประยุกต์ 1. หลักสูตรระบาดวิทยา ประยุกต์ 1-2 2.การประเมินผล โครงการ และการ ติดตามและประเมินผล 2. หลักสูตรวิจัยประเมิน เทคโนโลยี 2 3.พัฒนาภาวะผู้นำ 3. โครงการพัฒนานัก บริหารระดับกลางหรือ เทียบเท่า 3 4.หลักการวิจัย 4. หลักสูตรการบริหาร โครงการวิจัยสำหรับ หัวหน้าโครงการ ปีที่ 3 ขึ้น ไป 5.การบริหารงานวิจัย 5. โครงการพัฒนา ศักยภาพนักวิจัยด้าน นโยบายและระบบการ ควบคุมโรค
56
Training Roadmap สำหรับนายแพทย์และนักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ
ปีที่อยู่ใน ตำแหน่ง ประเด็นการพัฒนา หลักสูตรการพัฒนา 1 1.หลักการระบาด วิทยาประยุกต์ 1. หลักสูตรระบาดวิทยา ประยุกต์ 1-2 2.การประเมินผล โครงการ และการ ติดตามและ ประเมินผล 2. หลักสูตรวิจัยประเมิน เทคโนโลยี 2 3.พัฒนาภาวะผู้นำ 3. โครงการพัฒนานัก บริหารระดับกลางหรือ เทียบเท่า 3 4.หลักการวิจัย 4. หลักสูตรการบริหาร โครงการวิจัยสำหรับ หัวหน้าโครงการ ปีที่ 3 ขึ้น ไป 5.การบริหาร งานวิจัย 5. โครงการพัฒนา ศักยภาพนักวิจัยด้าน นโยบายและระบบการ ควบคุมโรค
57
“ ผลิตและพัฒนากำลังคนด้านการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ”
เป้าหมาย ปี พัฒนาบุคลากรด้านการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ให้มีความรู้ ความชำนาญ เพิ่มพูนทักษะและประสบการณ์ที่จำเป็นต่อการป้องกันควบคุมโรคของประเทศให้เข้มแข็งในระยะยาว ทุนศึกษาต่อเนื่อง ณ ต่างประเทศ ทุนฝึกอบรม ระยะสั้น ณ ต่างประเทศ **ภายใต้ 24 หลักสูตร/สาขาวิชา ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจงานป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพ
58
ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System: PMS)
59
การประเมินผลการปฏิบัติงาน : องค์ประกอบและสัดส่วนน้ำหนักคะแนน
ผลสัมฤทธิ์ ของงาน 80 คะแนน สมรรถนะ 20 คะแนน *กรณีข้าราชการอยู่ระหว่างทดลองราชการ : 1. ผลสัมฤทธิ์ของงาน = ร้อยละ 50 2. พฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะ = ร้อยละ 50 **พนักงานราชการไม่มีทดลองราชการ
60
องค์ประกอบและสัดส่วนน้ำหนักคะแนน : ผลสัมฤทธิ์ของงาน
61
องค์ประกอบและสัดส่วนน้ำหนักคะแนน : สมรรถนะ
62
Q & Share
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.