งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการ เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการ เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการ เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว
นางสาววราภรณ์ นนทวี ศูนย์อนามัยที่ 10 อุบลราชธานี กรมอนามัย

2

3

4 โครงการ เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว
หลักสูตรการอบรมการสื่อสารระหว่างพ่อแม่ ผู้ปกครองกับลูกหลานวัยรุ่น วัตถุประสงค์ เพิ่มความรู้ ปรับทัศนคติและเสริมสร้างศักยภาพพ่อแม่ ผู้ปกครอง ในการสื่อสารกับลูกหลานวัยรุ่น พ่อแม่ ผู้ปกครอง มีความเข้าใจถึงความจำเป็น ในการสอนเพศวิถีศึกษาและอนามัยการเจริญพันธุ์ สามารถพูดคุยเรื่องเพศได้

5 สำหรับพ่อแม่ ผู้ปกครอง สำหรับลูกวัยรุ่น
ความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว สำหรับพ่อแม่ ผู้ปกครอง สำหรับลูกวัยรุ่น พัฒนาคู่มือการจัดอบรมเรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว (ฉบับบูรณาการ) การจัดทำ(ร่าง)คู่มือ “พัฒนาทักษะการสื่อสารเรื่องเพศระหว่างวัยรุ่นกับครอบครัว” แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานกับพื้นที่ (ในการอบรมผู้ให้บริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน) อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะการสื่อสารเรื่องเพศ และอนามัยการเจริญพันธุ์ ระหว่างวัยรุ่นกับครอบครัว (TRY OUT เครื่องมือ) อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพวิทยากร (ครู ก.) ระดับเขต เผยแพร่คู่มือ สื่อ แผ่นพับ (ต้นแบบ) เพื่อให้ระดับพื้นที่นำไปจัดอบรมพ่อแม่ ผู้ปกครอง

6 โครงการเรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว
ก้าวสู่ความยั่งยืน

7 อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์

8 วัตถุประสงค์ของอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บูรณาการและเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบการดำเนินงานเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชน พัฒนาองค์ความรู้เรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ ในระดับอำเภอและชุมชนอย่างต่อเนื่อง พัฒนารูปแบบการดำเนินงานเพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นและเยาวชน

9 กรอบแนวคิดอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
* มีคณะกรรมการ/คณะทำงานจากทุกภาคส่วน * มีแผนและดำเนินการตามแผน * ประชุมและติดตามประเมินผล * มีฐานข้อมูลเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ * การสื่อสารเพื่อสร้างกระแสสังคม สถานศึกษา สถานบริการ สาธารณสุข องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ครอบครัว/ชุมชน * มีการสอนเพศวิถีศึกษา หรือหลักสูตรใกล้เคียง * จัดกิจกรรมการเรียนรู้ * มีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน * รพช. มีการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชนที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน * รพ.สต. มีข้อมูล แผนงาน และกิจกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ * รพ. มีระบบการดูแล/ ส่งต่อการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่นและเยาวชน * มีแผนและดำเนินการตามแผน * สนับสนุนทรัพยากร * มีฐานข้อมูลเรื่องเพศและอนามัย การเจริญพันธุ์ * การสื่อสารเพื่อสร้างกระแสสังคม ครอบครัวได้รับการอบรมความรู้ เรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ ผลผลิต อำเภอผ่านเกณฑ์มาตรฐานอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ ผลลัพธ์  * วัยรุ่นและเยาวชนมีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม * การคลอดในวัยรุ่นและเยาวชนลดลง * การคลอดซ้ำในวัยรุ่นและเยาวชนลดลง * การป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นและเยาวชนลดลง

10 บทบาทหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงาน
โครงการเรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว ระดับส่วนกลาง ระดับเขต ระดับจังหวัด ระดับพื้นที่ พัฒนาคู่มือ/สื่อ พัฒนาศักยภาพวิทยากร (ครู ก.) พัฒนาศักยภาพวิทยากร (ครู ข.) จัดอบรมพ่อแม่ ผู้ปกครอง แสวงหางบประมาณและสนับสนุนการจัดอบรม ติดตาม ประเมินผลการอบรม สนับสนุนวิทยากร และคู่มือ/สื่อต้นแบบ นิเทศและเยี่ยมแบบเสริมพลังในพื้นที่ ถอดบทเรียนการดำเนินงานระดับเขต ถอดบทเรียนการดำเนินงานระดับประเทศ

11 การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพวิทยากรในการจัดการอบรม
เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว (ครู ก) ระดับจังหวัด” วัตถุประสงค์ 1 พัฒนาศักยภาพวิทยากรในการสื่อสารเรื่องเพศ อนามัยการเจริญพันธุ์ พฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น และการใช้คู่มือการจัดการอบรมเรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว 2. ฝึกปฏิบัติและเรียนรู้เทคนิคการเป็นวิทยากรการจัดการอบรมเรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว 3. ร่วมวางแผนการดำเนินงานเรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว

12 รุ่นที่ 1 ณ โรงแรมบ้านสวนคุณตา กอล์ฟ แอนด์ รีสอร์ท จ.อุบลราชธานี
รุ่นที่ 1 ณ โรงแรมบ้านสวนคุณตา กอล์ฟ แอนด์ รีสอร์ท จ.อุบลราชธานี รุ่นที่ 2 ณ โรงแรมริเวอร์ซิตี้ จ.มุกดาหาร

13 สื่อที่ใช้ในการจัดอบรมเรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว

14 สื่อที่ใช้ในการจัดอบรมเรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว

15 การดำเนินงานของทีมนักจัดการสุขภาพวัยรุ่น (Teen manager)
กับการขับเคลื่อนการจัดอบรมเรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว

16

17 ทีมนักจัดการสุขภาพวัยรุ่น (Teen manager)
กลุ่มบุคลากร สาธารณสุข/ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับวัยรุ่นที่มีบทบาทในการประสานงาน สื่อสาร นิเทศ ติดตาม กำกับดูแล และสนับสนุนการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการดูแล สุขภาพวัยรุ่น ระดับเขต/ระดับจังหวัด ระดับอำเภอ/ ระดับตำบล เพื่อให้เกิดโครงสร้างและมีผู้รับผิดชอบชัดเจน เป็นผู้รู้และมองเห็น ภาพรวมของการดำเนินงานกับวัยรุ่นในพื้นที่ รู้ปัญหา และช่องว่าง

18 บทบาทของทีมนักจัดการสุขภาพวัยรุ่น
1. ประสานและบูรณาการแผนระดับเขต ระดับจังหวัด และระดับอำเภอ/ ตำบล ประสาน สนับสนุน ติดตาม กำกับดูแล การดำเนินงานตาม แผนงาน ศึกษายุทธศาสตร์ แนวทาง มาตรการ รูปแบบ วิธีการ ตลอดจนเครื่องมือที่จำ เป็นต่อการดำเนินงานสุขภาพวัยรุ่น เป็นศูนย์กลางรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบวิเคราะห์ และรายงาน ข้อมูลสถานการณ์และปัญหาสุขภาพ ติดตาม กำกับ และประเมินผลการดำเนินงาน นำเสนอ ข้อคิดเห็น ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะต่อการ ดำเนินงานตามแผนงานสุขภาพวัยรุ่น

19 บทบาทของทีมนักจัดการสุขภาพวัยรุ่น
ทีมนักจัดการสุขภาพวัยรุ่น (Teen manager) คือ “ผู้ประสาน ผู้สื่อสารหรือถ่ายทอด นักวิเคราะห์-รวบรวมข้อมูล ผู้นิเทศ กำกับติดตาม ประเมินผล และสนับสนุนการดำเนินงาน”

20 โครงสร้างของทีมนักจัดการสุขภาพวัยรุ่น (Teen manager)
ระดับเขต

21 โครงสร้างของทีมนักจัดการสุขภาพวัยรุ่น (Teen manager)
ระดับจังหวัด

22 โครงสร้างของทีมนักจัดการสุขภาพวัยรุ่น (Teen manager)
ระดับอำเภอ

23 โครงสร้างของทีมนักจัดการสุขภาพวัยรุ่น (Teen manager)
ระดับตำบล

24 กรอบแนวคิดในการขับเคลื่อนงานดูแลสุขภาพวัยรุ่น
กิจกรรม สถานบริการสาธารณสุข - บริการการปรึกษา/การดูแลด้านสังคมจิตใจ/บริการเชิงรุกสู่ชุมชนและสถานศึกษา และจัดระบบส่งต่อ สถานศึกษา - สอนเพศศึกษา/ทักษะชีวิต จัดกิจกรรมตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ชุมชน - พื้นที่สร้างสรรค์สำหรับวัยรุ่นและเยาวชน/พื้นที่เรียนรู้สำหรับพ่อแม่ผู้ปกครอง/outreach service สถานบริการสาธารณสุข: YFHS/คลินิกวัยรุ่น/ Psychosocial clinic/คลินิก ยาเสพติด สุรา บุหรี่/คลินิกนิรนาม/ OSCC/ANC/LR ฯลฯ

25 สรุปภาพการดำเนินงานดูแลสุขภาพวัยรุ่น
Setting ระบบหรือกิจกรรมสำคัญ คู่มือ เทคโนโลยี สิ่งสนับสนุนทางวิชาการ สถานบริการ สาธารณสุข - ระบบการบริการที่เป็นมิตร สำหรับวัยรุ่นและเยาวชน - Youth Counseling (Training online) - แบบประเมิน HEEADSSS(S), FTND - กฎหมายเกี่ยวกับวัยรุ่นและเยาวชน - คู่มือแนวทางการจัดบริการสุขภาพ วัยรุ่นแบบบูรณาการตามมาตรฐาน กระทรวงสาธารณสุข - ระบบการประสานความ ร่วมมือระหว่างโรงเรียน และโรงพยาบาล - คู่มือการดำเนินงานโครงการ 1 โรงพยาบาล 1 โรงเรียน - แนวทางการดูแลช่วยเหลือนักเรียน จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ School Network Conference : กรณีเกม เพศ ความรุนแรง และยาเสพติด - แนวทางการประชุมปรึกษารายกรณี (Case Conference) : ในสถานศึกษา สำหรับบุคลากรสาธารณสุข - แบบประเมิน SDQ,EQ,GAST - คู่มือจัดกิจกรรมพัฒนาความฉลาดทาง อารมณ์ในวัยรุ่น - หลักสูตรเพศศึกษารอบด้าน - คู่มือพัฒนาทักษะชีวิต (สร้างความเข้มแข็งทางใจ)

26 สรุปภาพการดำเนินงานดูแลสุขภาพวัยรุ่น
Setting ระบบหรือกิจกรรมสำคัญ คู่มือ เทคโนโลยี สิ่งสนับสนุนทางวิชาการ สถานศึกษา - ระบบการดูแลช่วยเหลือ นักเรียน ประกอบด้วย - การให้การปรึกษาเบื้องต้น - การปรับพฤติกรรมด้วย กิจกรรมในชั้นเรียน - กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน/ จับคู่ Buddy - การสื่อสารกับผู้ปกครอง - กิจกรรมซ่อมเสริม - กิจกรรมเสริมหลักสูตร - กิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน - การจัดประชุมปรึกษาราย กรณี (case conference) - การส่งต่อนักเรียน - Youth Counseling (Training online) - แบบประเมิน SDQ, EQ, GAST - ทักษะชีวิต - คู่มือจัดกิจกรรมพัฒนาความฉลาด ทางอารมณ์ - หลักสูตรเพศศึกษารอบด้าน

27 สรุปภาพการดำเนินงานดูแลสุขภาพวัยรุ่น
Setting ระบบหรือกิจกรรมสำคัญ คู่มือ เทคโนโลยี สิ่งสนับสนุนทางวิชาการ ชุมชน - จัดพื้นที่สร้างสรรค์ที่วัยรุ่น และเยาวชนมีส่วนร่วม - คู่มือการส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่นและ เยาวชนในชุมชน - ทักษะชีวิต - หลักสูตรการสื่อสารเรื่องเพศกับ ลูกวัยรุ่น - จัดพื้นที่การเรียนรู้ของ พ่อแม่ ผู้ปกครอง - โปรแกรมการเรียนรู้เรื่องพ่อแม่ ผู้ปกครองคุยกับลูกหลานเรื่องเพศ - คู่มือการส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่นและเยาวชนในชุมชน

28 สรุปภาพการดำเนินงานดูแลสุขภาพวัยรุ่น
ที่เข้าถึงได้ (Access) ครอบคลุมพื้นที่ (Coverage) มีคุณภาพ (Quality) มีความปลอดภัย (Safety) กำหนดเป้าหมาย (Goals) ผลลัพธ์ (Outcomes)

29 การขับเคลื่อนการจัดอบรมเรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว
ใช้รูปแบบดำเนินงานแบบการบูรณาการ ร่วมกับภาคีเครือข่าย อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ คลินิกวัยรุ่น และ Teen Manager

30 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt โครงการ เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google