งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการ พิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำนักงานเกษตรจังหวัดอุบลราชธานี กรมส่งเสริมการเกษตร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการ พิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำนักงานเกษตรจังหวัดอุบลราชธานี กรมส่งเสริมการเกษตร."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการ พิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำนักงานเกษตรจังหวัดอุบลราชธานี กรมส่งเสริมการเกษตร

2 ที่มาและผลที่คาดว่าจะได้รับ จากปัญหาและสถานการณ์ปัจจุบันที่เกิดความยุ่งยากต่างๆ ในการขออนุญาต ทำให้ประชาชนไม่สะดวกในการขออนุญาตจากทาง ราชการ และยังเป็นอุปสรรคสำคัญในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และการป้องกันการทุจริต ทำให้ต้องมีการ ออกกฎหมายขึ้นมาเพื่อเป็นเครื่องมือ เพื่อขจัดอุปสรรค ทำให้ได้ผลผลิต 4 ประการที่สำคัญ คือ คู่มือประชาชน ศูนย์บริการร่วม ศูนย์รับคำขออนุญาตและการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ในการรับคำขอ กฎหมายกลางเพื่อกำหนดมาตรฐาน และครอบคลุมทุกงานบริการ มีกฎหมายว่าด้วยการอนุญาตเป็นจำนวนมาก ประชาชนต้องติดต่อส่วนราชการหลายแห่งเพื่อ ดำเนินการ ขออนุญาต กฎหมายว่าด้วยการอนุญาตไม่กำหนดความ ชัดเจน ทั้งระยะเวลา เอกสารที่ต้องใช้ ขั้นตอน เงื่อนไข และหลักเกณฑ์การพิจารณา ประชาชนขาดข้อมูลทำให้เกิดช่องทางการทุจริต 1. คู่มือสำหรับประชาชน 2. ศูนย์บริการร่วม 3. ศูนย์รับคำขออนุญาต ปัญหา และสถานการณ์ปัจจุบัน พ.ร.บ.การอำนวยความ สะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของ ทางราชการ พ.ศ.2558 ผลผลิตหลัก: 4. การปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ ในการรับคำขอ 2 การให้บริการภาครัฐ มีมาตรฐานแน่นอน ชัดเจน และรวดเร็ว ลดความเสี่ยงของ การทุจริตคอร์รัปชั่น ประชาชนเข้าถึง ข้อมูลการให้บริการ ภาครัฐได้ง่ายขึ้น ประโยชน์ที่ได้รับ

3 ภาพรวมพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 -ประกาศ ณ จุด บริการ -สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (มาตรา 7) คู่มือสำหรับประชาชน ยื่นคำขอรับบริการ -ยื่น ณ จุดให้บริการแต่ ละหน่วยงาน -ผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ -ศูนย์บริการร่วม กระทรวง/จังหวัด -ศูนย์รับคำขออนุญาต ตรวจสอบคำขอ เรื่องแล้วเสร็จตามคำขอ เรื่องไม่แล้วเสร็จ -หากไม่ถูกหรือไม่ครบให้แจ้งทันที หรือบันทึกความบกพร่องนั้นไว้มอบ แก่ผู้ยื่นคำขอไว้เป็นหลักฐาน -สามารถขอเอกสารเพิ่มได้เพียงครั้ง เดียว (มาตรา 8) -ถูกต้อง -ครบถ้วน คำขอ/เอกสารไม่ถูกต้อง หากครบกำหนดแล้วยังพิจารณา ไม่แล้วเสร็จ ให้ให้แจ้งผู้ยื่นคำขอ ทราบทุก 7 วัน จนกว่าจะ พิจารณาเสร็จ พร้อมส่งสำเนาให้ ก.พ.ร. (มาตรา 10) ให้มีศูนย์บริการร่วมเพื่อรับคำขอและชี้แจง (มาตรา 7 วรรคสี่) กำหนดแนวทางศูนย์บริการร่วม (มาตรา 7 วรรคสี่) ศูนย์รับคำขอ อนุญาต กรณีจำเป็นและสมควร เสนอ ครม. จัดตั้งศูนย์รับคำขออนุญาต (มาตรา 14) จัดทำคู่มือสำหรับประชาชน และเผยแพร่ (มาตรา 7) จัดทำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ รองรับการรายงานคู่มือสำหรับประชาชน และรายงานกรณีล่าช้า ส่งเสริมความรู้และสื่อสารสร้างความเข้าใจ -จัดทำแนวทางการจัดทำคู่มือสำหรับประชาชน (มาตรา 7) -ตรวจสอบคู่มือสำหรับประชาชน (มาตรา 7 วรรคสาม) -ตรวจสอบกรณีล่าช้า (มาตรา 10 วรรคสอง) กำหนดให้ยื่นคำขอผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (มาตรา 7 วรรคหนึ่ง) -เจ้าหน้าที่ผู้รับคำขอปฏิบัติตามที่ พ.ร.บ.ฯ กำหนด -ผู้อนุญาตพิจารณาปรับปรุงกฎหมายทุก 5 ปี (มาตรา 6) -กำหนดหลักเกณฑ์และแนวทางการตรวจสอบการประกอบ กิจการของผู้ได้รับอนุญาต (มาตรา 13) -ตราพระราชกฤษฎีกาการชำระค่าธรรมเนียมต่ออายุ ใบอนุญาตแทนการยื่นคำขอ (มาตรา 12) หารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการออกใบอนุญาต เสนอต่อ คณะรัฐมนตรี (มาตรา 12 วรรคสี่) 3

4 4 ขอบเขตการใช้บังคับ ๑.๑. ด้านระยะเวลา ๑.๑ มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวัน นับแต่วันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป เว้นแต่มาตรา ๑๗ ให้ใช้บังคับ ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทาง ราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๓๒ ตอนที่ ๔ ก เมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘ ดังนั้น จึงมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เว้นแต่มาตรา ๑๗ ที่มีผลบังคับใช้ทันที

5 3. ระบบรับเรื่องร้องเรียน (ประชาชนสามารถร้องเรียนปัญหาการ ให้บริการ และ สกพร. สามารถใช้ ตรวจสอบคุณภาพการให้บริการ) ระบบ IT เพื่อสนับสนุนการดำเนินการตาม พ.ร.บ. อำนวยความสะดวกฯ 4. ระบบวิเคราะห์กระบวนงาน 2. ระบบหนังสือแจ้งล่าช้า (ประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย ครบถ้วน ทันสมัย ในจุดเดียว) ส่วนการใช้งานของผู้ขอรับบริการ รายละเอียดของงานบริการ + การดาวน์โหลดคู่มือฯตามแบบฟอร์ม การสืบค้นคู่มือสำหรับประชาชน และงานบริการ การเชื่อมโยงข้อมูลงานบริการที่มีความต่อเนื่องและ เกี่ยวข้องกัน ส่วนการใช้งานของหน่วยงานภาครัฐ การนำเข้า / กรอกข้อมูลคู่มือสำหรับประชาชน การแสดงสถานะการจัดส่งข้อมูลคู่มือสำหรับประชาชน การอนุมัติการเผยแพร่คู่มือสำหรับประชาชน ส่วนการใช้งานของสำนักงาน ก.พ.ร. การแสดงสถานการณ์จัดส่งข้อมูลคู่มือสำหรับ ประชาชน ของหน่วยงานภาครัฐทั้งหมด การอนุมัติการเผยแพร่คู่มือสำหรับประชาชน (เพิ่มประสิทธิภาพ สกพร. ในการนำข้อมูลไปวิเคราะห์เพื่อเสนอต่อ ครม. ในการพัฒนาการให้บริการ) ส่วนการใช้งานของหน่วยงานภาครัฐ การนำเข้า / กรอกข้อมูลการดำเนินงานล่าช้ากว่าที่ กำหนดในคู่มือสำหรับประชาชน การติดตาม / อัพเดทสถานะของกรณีล่าช้า การสั่งพิมพ์หนังสือล่าช้าเพื่อจัดส่งให้ผู้ขอรับบริการ การส่งสำเนาหนังสือ / ข้อมูลการดำเนินงานล่าช้า มายังสำนักงาน ก.พ.ร. ส่วนการใช้งานของ สำนักงาน ก.พ.ร. (ลดภาระหน่วยงานภาครัฐในการจัดส่ง หนังสือ เพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ กระบวนงานของ สกพร.) การรับข้อมูลการดำเนินงานล่าช้าจากหน่วยงานภาครัฐ การติดตามกรณีล่าช้าตามเกณฑ์ที่กำหนด การวิเคราะห์และรายงานทางสถิติ ส่วนการใช้งานของผู้ขอรับบริการ ติดตามสถานะการดำเนินงานของกรณีล่าช้า ส่วนการใช้งานของหน่วยงานภาครัฐ การเปรียบเทียบกระบวนงานชนิดเดียวกันแต่ต่างหน่วยงาน ส่วนการใช้งานของสำนักงาน ก.พ.ร. การเปรียบเทียบกระบวนงาน กับมาตรฐานกลาง ส่วนการใช้งานของผู้ขอรับบริการ กรอกข้อมูลและเรื่องร้องเรียนในการให้บริการ ด้านการอนุญาต การติดตามสถานะการดำเนินการ ส่วนการใช้งานของหน่วยงานภาครัฐ รับข้อมูลเรื่องร้องเรียนของหน่วยงาน การติดตาม / อัพเดท สถานะการดำเนินการ การจัดทำรายงานข้อมูลทางสถิติ ส่วนการใช้งานของ สำนักงาน ก.พ.ร. การติดตามสถานะการดำเนินการ การจับคู่เรื่องร้องเรียนและหนังสือแจ้งล่าช้า การจัดทำรายงานและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ 1. ระบบคู่มือสำหรับประชาชน รายงานและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ฮาร์ดแวร์ + ซอฟท์แวร์ สนับสนุนการดำเนินงาน. ระบบ IT เพื่อสนับสนุนการดำเนินการตาม พ.ร.บ. ฯ แบ่งออกเป็น 4 ระบบย่อย ดังนี้ 5

6 พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาต ของทางราชการ พ. ศ. 2558 ประกาศใช้เมื่อใด ?  พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณา อนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 ได้ประกาศใช้ ในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ตั้งแต่วันที่ 22 มกราคม 2558

7 พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาต ของทางราชการ พ. ศ. 2558 มีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร ?  กฎหมายดังกล่าวเป็นกฎหมายกลางที่จะกำหนดขั้นตอนและ ระยะเวลาในการพิจารณาอนุญาตให้มีความชัดเจน เป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนตามหลักของ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

8 ระยะเวลาในการใช้บังคับของพระราชบัญญัติฯ มีผลเมื่อใด ?  (มาตรา 2 และมาตรา 17) พระราชบัญญัติฉบับนี้ จะมีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด 180 วันนับแต่วันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา กล่าวคือ จะมีผลใช้บังคับ นับตั้งแต่ วันที่ 21 กรกฎาคม 2558 เป็นต้นไป

9 เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร ? บังคับให้ใคร ? ทำอะไร ?  ในเรื่องการจัดทำคู่มือสำหรับประชาชน ของการขออนุญาตในแต่ละเรื่อง ซึ่ง พ.ร.บ.ฯ ได้กำหนดให้  ผู้อนุญาต ตามกฎหมายจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนในเรื่องของการอนุญาต ทุกประเภท เพื่อเผยแพร่ให้ประชาชนได้ทราบและเข้าใจถึงรายละเอียดของ เอกสารและหลักฐานที่จำเป็นต้องใช้ยื่น รวมทั้งกำหนดขั้นตอนและระยะเวลาใน การพิจารณาของเจ้าหน้าที่ไว้อย่างชัดเจน และ  ประชาชน ก็จะต้องยื่นคำขออนุญาตตามคู่มือสำหรับประชาชนในเรื่องนั้นๆ

10 มีขอบเขตการใช้บังคับของพระราชบัญญัติอย่างไร ?  (มาตรา ๓ มาตรา ๔ และมาตรา ๕) พ.ร.บ. ฉบับนี้ใช้บังคับกับการให้บริการ ของหน่วยงานของรัฐกับประชาชน แต่ไม่ใช้กับการประสานงานบริการระหว่าง หน่วยงานของรัฐด้วยกันเอง โดยกำหนดให้หน่วยงานของรัฐ ได้แก่ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือกิจการอื่นใดของรัฐ ที่มีภารกิจเกี่ยวกับการพิจารณาการออกใบอนุญาต การอนุมัติ การจดทะเบียน การขึ้นทะเบียน การรับแจ้ง การให้ประทานบัตร และการให้อาชญาบัตร ตามกฎหมายหรือกฎ หน่วยงานของรัฐนั้น โดย ผู้อนุญาตตามกฎหมายจะต้อง ดำเนินการจัดทำคู่มือสำหรับประชาชนทุกงานบริการ

11 องค์ประกอบของคู่มือสำหรับประชาชน คู่มือสำหรับประชาชน ดังกล่าวอย่างน้อยต้องประกอบด้วย (1) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข (ถ้ามี) ในการยื่นคำขอ (2) ขั้นตอนและระยะเวลาในการพิจารณาอนุญาต และ (3) รายการเอกสารหรือหลักฐานที่ผู้ขออนุญาตจะต้องยื่นมาพร้อมกับคำขอ สำหรับการเผยแพร่คู่มือสำหรับประชาชนให้ผู้ที่จะมายื่นคำขออนุญาตทราบนั้น เมื่อ หน่วยงานของรัฐใดได้จัดทำคู่มือสำหรับประชาชนเสร็จเรียบร้อยแล้ว หน่วยงานของรัฐนั้น จะต้องปิดประกาศคู่มือสำหรับประชาชนไว้ ณ สถานที่ที่กำหนดให้ยื่นคำขออนุญาตในเรื่อง นั้นๆ และเผยแพร่ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วย ทั้งนี้ หากประชาชนต้องการที่จะได้สำเนาคู่มือ ดังกล่าว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่จัดทำสำเนาให้โดยอาจจะคิดค่าใช้จ่ายหรือไม่ก็ได้

12 12 แนวทางปฏิบัติ พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการ พิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำหรับสำนักงานเกษตรอำเภอ

13 13 พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทาง ราชการ พ. ศ. ๒๕๕๘ ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๓๒ ตอนที่ ๔ก ลงวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘ มีผลบังคับใช้เมื่อพ้นกำหนด ๑๘๐ วัน นับแต่วันที่ประกาศ ซึ่งมาตรา ๗ หน่วยงานของรัฐที่มีการอนุญาต คู่มือสำหรับประชาชนปิดประกาศไว้ ณ สถานที่ยื่นคำขอ และเผยแพร่ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งให้บริการตามกระบวนงานที่กำหนด กำหนดให้ หน่วยงานของรัฐที่มีการอนุญาต ต้องจัดทำคู่มือสำหรับ ประชาชน และให้นำ คู่มือสำหรับประชาชนปิดประกาศไว้ ณ สถานที่ยื่นคำขอ และเผยแพร่ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งให้บริการตามกระบวนงานที่กำหนด

14 14 กรมส่งเสริมการเกษตร จำนวน ๔ คู่มือ กรมส่งเสริมการเกษตร ได้จัดทำคู่มือสำหรับประชาชน ให้อำเภอใช้เป็นแนวทางใน การดำเนินงาน และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ จำนวน ๔ คู่มือ ประกอบด้วย ๑. การจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ณ ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล ๒. การจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ณ สำนักงานเกษตรอำเภอ ๓. การขึ้นทะเบียนเกษตรกร กรณีเกษตรกรนำแปลงเดิมมาขึ้นทะเบียนด้วยตนเอง ณ สำนักงานเกษตรอำเภอ ๔. การขึ้นทะเบียนเกษตรกร กรณีเกษตรกรนำแปลงใหม่มาขึ้นทะเบียนด้วยตนเอง ณ สำนักงานเกษตรอำเภอ

15  องค์ประกอบคู่มือสำหรับประชาชน องค์ประกอบของคู่มือฯ ประเภทกระบวนงานบริการ 1) กระบวนงานบริการที่ เบ็ดเสร็จในหน่วยงาน เดียว 2) กระบวนงานบริการที่ เชื่อมโยงหลายหน่วยงาน 3) กระบวนงานบริการ ที่ต่อเนื่องจาก หน่วยงานอื่น 4) กระบวนงานบริการ ที่ให้บริการในส่วน ภูมิภาคและ ท้องถิ่น 1) ขอบเขตการให้บริการ งานที่ให้บริการ / สถานที่หรือช่องทางการให้บริการ / ระบุ วัน เวลา ที่ให้บริการ 2) หลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไข แสดงหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข (ถ้ามี) ในการยื่นคำขอที่หน่วยงานกำหนดไว้ให้ประชาชนทราบอย่างชัดเจน 3) ขั้นตอนและระยะเวลา แสดงขั้นตอนการให้บริการเรียงตามลำดับก่อนหลัง คำอธิบายโดยสังเขป พร้อมทั้งระบุหน่วยงานผู้รับผิดชอบ ในแต่ละขั้นตอน แสดงระยะเวลาในการดำเนินการแต่ละขั้นตอน และระยะเวลาโดยรวม 4) รายการเอกสาร หลักฐานประกอบ แสดงรายการเอกสารหรือหลักฐานที่ใช้ประกอบการยื่นคำขอรับบริการ พร้อมกับระบุจำนวนของเอกสารหรือหลักฐานให้ ชัดเจน 5) ค่าธรรมเนียม ระบุค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่ายที่ผู้รับบริการจะต้องชำระ (ถ้ามี) 6) การรับเรื่องร้องเรียน แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับช่องทางและวิธีการแจ้งเรื่องร้องเรียนแก่ผู้ให้บริการ 7) อื่น ๆ ตัวอย่างแบบฟอร์ม : แสดงให้เห็นตัวอย่างแบบฟอร์มคำขอ แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง และตัวอย่างการกรอกข้อมูล หมายเหตุ ในขั้นตอนที่เชื่อมโยงกับหน่วยงาน อื่นควรมีการระบุขั้นตอนให้ชัดเจนว่า มีความเกี่ยวข้องกับหน่วยงานใดบ้าง และในการกำหนดระยะเวลาการ ดำเนินการของขั้นตอนที่เชื่อมโยง กับหน่วยงานอื่นนี้ควรมีการ ปรึกษาหารือร่วมกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องเพื่อให้ได้ข้อสรุประยะเวลา ที่ประกาศ ระบุรายการเอกสารหรือ หลักฐานที่ต้องไปดำเนินการ กับหน่วยงานของรัฐอื่น ๆ ให้ แล้วเสร็จก่อนที่จะมายื่นคำขอ โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับ รายชื่อหน่วยงานผู้รับผิดชอบ สถานที่ให้บริการ ช่องทางการ ติดต่อ เป็นต้น กำหนดขั้นตอน และระยะเวลา มาตรฐานโดยหน่วยงานผู้มี อำนาจตามกฎหมาย เพื่อให้การ บริการประชาชนมีมาตรฐาน อย่างทั่วถึง ทั้งนี้ ในปฏิบัติให้ พิจารณาถึงความมีประสิทธิภาพ และประโยชน์ต่อผู้รับบริการเป็น สำคัญ เพื่อให้คู่มือสำหรับประชาชนของทุกหน่วยงานของรัฐ เป็นมาตรฐานเดียวกัน สำนักงาน ก.พ.ร. จึงได้กำหนดองค์ประกอบของ คู่มือ ดังนี้ 15

16 16 สำนักงานเกษตรอำเภอ ขอให้อำเภอแจ้ง สำนักงานเกษตรอำเภอ ดำเนินการ ดังนี้ ( หนังสือจังหวัดอุบลฯ ที่ อบ 0009/ ว 465 ลงวันที่ 27 มกราคม 2559 เรื่อง แนวทางปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกฯ ) ๑. ศึกษาและตรวจสอบ ๑. ๑ ศึกษาทำความเข้าใจคู่มือสำหรับประชาชน ที่ สำนักงานเกษตร อำเภอจะต้องเป็นผู้ให้บริการประชาชน ๔ กระบวน ตามรายละเอียดที่แนบมาพร้อม นี้ ๑. ๒ ตรวจสอบรายละเอียดคู่มือสำหรับประชาชนตามพระราชบัญญัติ การอำนวยความสะดวกฯ ทางเว็บไซต์ https://backend.info.go.th/ Account/Login และรายงานผลการดำเนินงาน ( สิ่งที่ส่งมาด้วย ๑ ) ให้สำนักงานเกษตรจังหวัด ภายใน วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ Account/Login

17 กระบวนการจัดทำคู่มือสำหรับประชาชน ผ่านระบบสารสนเทศให้ใช้

18 รหัสของผู้ใช้งานคือ ……….@doae.go.th ตามด้วยรหัสผ่าน...... เช่น nayea@doae.go.th รหัสผ่าน 123456

19 ตรวจว่าจะมีคู่มือประชาชนที่รอการอนุมัติจะปรากฏจำนวนคู่มือขึ้นมา 1. ตรวจสอบชื่อหน่วยงาน

20 2. คลิกที่ “คู่มือสำหรับประชาชนที่รอการอนุมัติ”

21 3. ระบบจะแสดงคู่มือที่ส่งมาจากผู้จัดทำคู่มือ เพื่อรอการอนุมัติ 4. คลิกปุ่ม “รายละเอียด” เพื่อเปิดอ่านและตรวจสอบหรือคลิกพิมพ์เอกสาร เพื่อดาวน์โหลดคู่มือในรูปแบบ MS-Word แล้วพิมพ์เพื่ออ่านและตรวจสอบ

22

23

24 5. คลิกปุ่ม “คลิกพิมพ์เอกสาร” เพื่อดาวน์โหลดคู่มือในรูปแบบ MS-Word แล้วพิมพ์เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์และให้บริการตามคู่มือฯ

25 คู่มือสำหรับประชาชน : การขึ้นทะเบียนเกษตรกร กรณีเกษตรกรนำแปลงเดิมฯ ตัวอย่างคู่มือสำหรับประชาชน ตัวอย่างคู่มือสำหรับประชาชน คู่มือสำหรับประชาชน : การจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ณ ศูนย์บริการ และถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

26 26 ๒. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์คู่มือฯ ๒. ๑ ให้ ดำเนินการเผยแพร่คู่มือสำหรับประชาชน ทั้ง ๔ กระบวนงาน โดย การติดประกาศขั้นตอนกระบวนการให้บริการ ณ สำนักงานเกษตรอำเภอและศูนย์บริการ และถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล ( ศบกต.) และประชาสัมพันธ์ไว้หน้า เว็บไซต์ของสำนักงานเกษตรอำเภอ

27 27 ๓. การให้บริการ ๓. ๑ ให้สำนักงานเกษตรอำเภอให้บริการตามกระบวนงานที่กำหนดตามคู่มือ ปฏิบัติ ดังนี้ ( ๑ ) จัดทำทะเบียนควบคุมคำร้องขอรับบริการ ( ๒ ) จัดทำทะเบียนควบคุมบันทึกการยื่นขอ ( ๓ ) ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการตาม พ. ร. บ. อำนวยความสะดวกฯ เป็นประจำทุกเดือนตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด

28 ทะเบียนควบคุมคำร้องขอรับบริการ

29 ทะเบียนควบคุมบันทึกการยื่นขอ

30 ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ

31 31 ๔. สรุปผลและรายงานผล สรุปผลการปฏิบัติตามข้อที่ ๓. ๑ - ๓. ๓ ๒๕ ของเดือน ภายในวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ สรุปผลการปฏิบัติตามข้อที่ ๓. ๑ - ๓. ๓ ตามแบบสรุปรายงานให้ สำนักงานเกษตรจังหวัดทราบ ทุกวันที่ ๒๕ ของเดือน โดยกำหนดให้ส่งครั้งแรก ภายในวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ สำนักงานเกษตรอำเภอ แจ้งคณะกรรมการ ศบกต. ให้ สำนักงานเกษตรอำเภอ แจ้งคณะกรรมการ ศบกต. ทราบในการ ให้บริการ จดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ณ ศูนย์บริการและ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบลทุกแห่งภายในอำเภอ

32 ๔. สรุปผลและรายงานผล

33 ถาม - ตอบ

34 ขอขอบคุณ ถาม-ตอบ


ดาวน์โหลด ppt พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการ พิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำนักงานเกษตรจังหวัดอุบลราชธานี กรมส่งเสริมการเกษตร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google