Le passé récent การใช้ : Le passé récent ใช้บอกเล่า หรือบรรยายเหตุการณ์ที่เพิ่งจบลงไป - Le train vient d' entrer en gare. Les passagers en descendent.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นกพิราบตัวหนึ่ง.
Advertisements

La Voix Passive.
Huguette présente Manuellement.
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
ขอต้อนรับ Bienvenue dans ma demeure bienvenue à mes amis ขอต้อนรับ ในที่ประทับของเรา ขอต้อนรับ เพื่อนของเรา.
“กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ”
การจัดทำระบบฐานข้อมูล นิสิต คณะทรัพยากรธรรมชาติและ อุตสาหกรรมเกษตร.
ทักษะการปฏิเสธ ทักษะการปฏิเสธ •ถ้าฝ่ายชายถูกเนื้อต้องตัวฝ่ายหญิง เช่น จับมือ จับแขน   ฝ่ายหญิงต้องแสดงอาการหวงตัวให้ฝ่ายชายรู้สึกว่าไม่ควรทำเช่นนี้อีก 
RMC2005.
พวกเราต่างคิดว่าการกินผลไม้เป็นเรื่องง่ายๆ แค่ซื้อมา แล้วก็ปอก จากนั้นก็หยิบเข้าปากเท่านั้น คุณจะได้รับประโยชน์มากกว่าถ้าคุณรู้ว่าควรจะกินอย่างไร.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
ประโยคในภาษาไทย การเขียนประกอบด้วยประโยคต่าง ๆ หลายรูปแบบ หากเข้าใจโครงสร้างของประโยค จะทำให้สื่อความหมายได้ชัดเจน ไม่สับสน ไม่คลุมเครือ และไม่ขาดตกบกพร่อง.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ทางรถไฟสายมรณะ ทางรถไฟสายประวัติศาสตร์ ที่ควรรำลึกและจดจำ
25 Quotes that provoke people from around the world.
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
การวัดความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ
ค่าใช้สอยในการเดินทางไปราชการ
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
โดย นางสาวจิม ไพสิฐพานิชตระกูล ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัยฯ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม บทเรียนออนไลน์ รายวิชา ภาษาฝรั่งเศส.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
ภาพรวมระบบ National Single Window (NSW) เดิม นายธาดา สุวรรณวิมล.
วรกร สุพร งานนโยบายและแผน และประกันคุณภาพการศึกษา คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทบทวน “ เรื่อง แผน กัน หน่อย. เราทำแผน เพื่ออะไร.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
L’imparfait การใช้ :         1. บรรยายเหตุการณ์หรือบอกสภาพที่ดำรงอยู่ช่วงหนึ่งในอดีต (la durée, la description, et la situation)      - Quand elle était.
บทที่ 5 C’est 199 bahts. ที่มาของรูปภาพ :
โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนการชำระฐานข้อมูล เวชระเบียนของหน่วยบริการ ก่อนการเชื่อมโยงข้อมูลด้วยเทคโนโลยี Java Message Service (JMS) สำนักบริหารงานทะเบียน.
(Polymorphic Viruses)
การเขียน App สำหรับ Android smartphone
คุณภาพงาน 5 ส “มีดี ต้องโชว์”.
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
The Comptroller General's Department ล้างบัญชีพักงานระหว่างก่อสร้าง
น.ท.สุขสันต์ เหมศรี หน.ค่าใช้จ่าย กงต.กง.ทร. โทร 55562
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ระบบรายงานอุบัติภัยทางถนน e - Report
ยินดีต้อนรับสู่ PowerPoint
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
NEHIS “ อยู่ตรงไหน ก้าวต่อกันอย่างไร ? "
คู่มือ การจัดทำและนำส่งการรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของกรรมการ ผู้บริหาร ผู้สอบบัญชี ผู้ทำแผน และผู้บริหารแผน ขั้นตอนที่
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการน้ำดื่ม คณะแพทยศาสตร์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
Driver Service sect. Training. Video ภาพอุบัติเหตุ ที่ 1 สถานที่เกิดเหตุ : ทางด่วนขา เข้าบางนาตราด เวลาโดยประมาณ : 16: 45 น.
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
หมวดที่ 4 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
▣ วันที่เริ่มใช้ : 20 มิถุนายน 2016 (รวมถึงตู้ที่จะถ่ายลำ - โดยออกจากประเทศไทยในช่วงเวลานี้.)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
สำหรับตำแหน่งที่มีวิทยฐานะ
ทะเบียนสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
เริ่มต้นสร้างบล็อกเวิร์ดเพรส
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
คู่มือการใช้งานระบบเสนอหัวข้อของนักศึกษา
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
อำเภอแก่งคอย จัดทำโดย 1. เด็กชายวีระชัย บัวขำ เลขที่ 1
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Le passé récent การใช้ : Le passé récent ใช้บอกเล่า หรือบรรยายเหตุการณ์ที่เพิ่งจบลงไป - Le train vient d' entrer en gare. Les passagers en descendent. ( รถไฟ เพิ่งเข้าสู่สถานี ผู้โดยสารกำลังลงจากรถไฟ ) - Vous voulez un café ? ( คุณ ต้องการกาแฟสักถ้วยไหม ) + Non, merci. je viens d' en prendre. ( ไม่หรอกครับ ขอบคุณ ผมเพิ่งจะ ดื่มมา )

รูปแบบ : Le passé récent สร้างโดยใช้ verbe ”venir de” ในรูป présent + infinitif : Je viens de déjeuner. Tu viens de rentrer ? Il / Elle vient de sortir. Nous venons de commencer. Vous venez d' écouter France-Inter. Ils / Elles viennent d' entrer en classe.

Le passé composé การใช้ : 1. บอกเล่าหรือบรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน อดีตและจบลงไปเรียบร้อยแล้ว - Je suis née le 20 mars ( ดิฉันเกิดวันที่ 20 มีนาคม 2530) - L' année dernière, j' ai acheté une nouvelle voiture. ( เมื่อปีที่แล้วฉันซื้อรถ ใหม่คันหนึ่ง ) - Est-ce que tu lui as téléphoné ? ( เธอโทรศัพท์ถึงเขาแล้วหรือยัง )

2. บอกเล่าหรือบรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน อดีตแต่มีผลมาถึงปัจจุบัน - Elle n'a plus d'argent; elle a tout dépensé. ( หล่อนไม่มีเงินเหลืออีก หล่อนใช้ มันไปหมดแล้ว ) - Elle est tombée. Elle a mal aux genoux. ( หล่อนหกล้ม หล่อนเจ็บหัวเข่า )

3. ใช้ตามหลัง “si” ในประโยคที่บอก เงื่อนไข หรือ สมมุติฐาน - Si tu as fini tes devoirs, tu pourras regarder la télévision. ( ถ้าเธอทำการบ้าน เสร็จแล้ว เธอก็ดูโทรทัศน์ได้ ) - Si vous ne vous êtes pas encore inscrit(e), dépêchez-vous de le faire. ( หากคุณยังไม่ไดสมัคร ก็ต้องรีบเร็วเข้า )

รูปแบบ : เราใช้กริยาช่วย (auxiliaire) “avoir” หรือ “être” ในรูป présent + participe passé "avoir" ใช้กับ verbe ส่วนใหญ่ : J' ai bien mangé. [inf. = manger] Tu as fini ton travail ? [inf. = finir] Il a eu un accident. [inf. = avoir] Elle a été malade. [inf. = être]

Nous avons dîné dans un bon restaurant. [inf. =dîner] Vous avez appris l' anglais ? [inf. = apprendre] Ils ont fait beaucoup de photos. [inf. = faire] Elles ont mis leur plus belle robe. [inf. = mettre]

ในประโยคปฎิเสธ “ne pas” ครอบกริยาช่วย "avoir" - Je n' ai pas trouvé sa maison. - Tu n' as pas fini ? participe passé ของกริยาแท้ไม่ทำ accord ( ไม่เปลี่ยนรูป ) ให้สัมพันธ์กับเพศ และพจน์ของประธานเมื่อใช้กับ verbe "avoir"

"être" : 1. ใช้กับ verbes ต่อไปนี้ : - aller [allé] - venir [venu] - revenir [revenu] - arriver [arrivé] - partir [parti] - passer [passé] - entrer [entré] - rentrer [rentré] - sortir [sorti] - tomber [tombé] - rester [resté] - retourner [retourné] - monter [monté] - descendre [descendu] - naître [né] - mourir [mort]

- Je suis allé(e) au cinéma hier soir. - Tu es allé(e) au cinéma hier soir ? - Il est allé au cinéma hier soir. - Elle est allée au cinéma hier soir.

- Nous sommes allés(es) au cinéma hier soir. - Vous êtes allé(e)(es)(s) au cinéma hier soir ? - Ils sont allés au cinéma hier soir. - Elles sont allées au cinéma hier soir.

participe passé ของกริยาแท้ต้องทำ accord ( เปลี่ยนรูป ) ให้สัมพันธ์กับเพศและพจน์ของ ประธาน ( เติม e สำหรับเพศหญิง - เติม s สำหรับ พหูพจน์เพศชาย - เติม es สำหรับพหูพจน์ เพศหญิง ) เมื่อใช้กับ verbe "être"

สำหรับ verbe : monter, descendre, entrer(rentrer), sortir, passer, retourner : เมื่อตามด้วยกรรมตรง (complément d' objet direct) ต้องใช้ verbe "avoir" ช่วย ในการทำเป็น passé composé - Elle est passée chez moi hier. ( หล่อน แวะมาบ้านฉันเมื่อวาน ) - Elle a passé de bonnes vacances au bord de la mer. ( หล่อนใช้เวลาช่วง วันหยุดอย่างมีความสุขที่ชายทะเล )

ในประโยคปฎิเสธ “ne pas” ครอบกริยาช่วย "être" - Je ne suis pas sorti hier. - Il n' est pas venu en classe hier.

2. Verbe pronominal ทุกตัว ใช้กับ verbe “être” เมื่อเป็น passé composé Je me suis lavé. Tu t' es amusé ? Il s' est réveillé ? Elle s' est promenée.

Nous nous sommes disputés. Vous vous êtes fâchés avec vos copains ? Ils se sont intéressés à la peinture. Elles se sont rencontrées dans une fête.

ในประโยคปฎิเสธ " ne pas " ครอบทั้ง สรรพนาม และ กริยาช่วย "être" - Je ne me suis pas amusé à la fête d' hier soir. - Elle ne s' est pas fâchée contre toi !

participe passé ของกริยารูป pronominal ต้องทำ accord ( เปลี่ยนรูป ) ให้สัมพันธ์กับเพศและพจน์ของประธาน ( เติม e สำหรับเพศหญิง - เติม s สำหรับ พหูพจน์เพศชาย - เติม es สำหรับพหูพจน์เพศหญิง ) เมื่อ ใช้กับ verbe "être" ยกเว้นเมื่อมีกรรมตรงตามมา หรือ โครงสร้างของกริยา pronominal เป็น กรรมรอง

- Sabine s' est lavée. ( ทำ accord) [ ซาบิ้นอาบนํ้า ] - Sabine s' est lavé les cheveux. ( ไม่ทำ accord เพราะมีกรรมตรง “les cheveux” ตามมา ) [ ซาบิ้นสระผม ] - Sabine et sa copine se sont téléphoné pendant 2 heures ! [ ซาบิ้นกับเพื่อน โทรศัพท์ถึงกันเป็นเวลาตั้ง 2 ชั่วโมง ] ( ไม่ ทำ accord เพราะโครงสร้างของกริยา pronominal เป็น กรรมรอง : Sabine téléphone à sa copine และ Sa copine téléphone à Sabine)

Exercice 1 Mettez les verbes au passé composé 1. Je (avoir) une bonne note pour le français !

1. Je ai eu (avoir) une bonne note pour le français !

2. Tu (être) heureux de faire sa connaissance ?

2. Tu as été (être) heureux de faire sa connaissance ?

3. Il (faire) ses devoirs ?

3. Il a fait (faire) ses devoirs ?

4. Elle (trouver) la réponse !

4. Elle a trouvé (trouver) la réponse !

5. Nous (finir) nos devoirs !

5. Nous avons fini (finir) nos devoirs !

Exercice 2 Mettez les verbes au passé composé 1. Je (aller) au cinéma avec mes amis.

1. Je suis allé(e)(aller) au cinéma avec mes amis.

2. Elle (venir) m' apporter du chocolat.

2. Elle est venue (venir) m' apporter du chocolat.

3. Tu (sortir) avec tes amis hier ?

3. Tu es sorti(e)(sortir) avec tes amis hier ?

4. Il (naître) le 10 octobre 1960.

4. Il est né (naître) le 10 octobre 1960.

5. Nous (rentrer) tard hier soir.

5. Nous sommes rentré(e)s (rentrer) tard hier soir.

Exercice 3 Mettez les verbes au passé composé 1. Je (se lever) à 5 heures du matin !

1. Je me suis levé(e) (se lever) à 5 heures du matin !

2. Tu (se réveiller) à quelle heure ce matin ?

2. Tu t’est réveillé(e)(se réveiller) à quelle heure ce matin ?

3. Il (se promener) en ville avant de rentrer.

3. Il s’est promené (se promener) en ville avant de rentrer.

4. Elle (s'habiller) très vite!

4. Elle s’est habillée (s'habiller) très vite!

5. Nous (se rencontrer) à Nakhonpathom.

5. Nous nous sommes rencontrés (se rencontrer) à Nakhonpathom.

Exercice 4 Mettez les verbes au passé composé 1. Nous (descendre) par l'ascenseur.

1. Nous sommes descendu(e)s (descendre) par l'ascenseur.

2. Quand est-ce que tu (se coucher) hier soir ?

2. Quand est-ce que tu t’es couché(e)(se coucher) hier soir ?

3. Je (ne pas vouloir) te déranger !

3. Je n’ai pas voulu(ne pas vouloir) te déranger !

4. Elle (monter) l'escalier.

4. Elle a monté (monter) l'escalier.

5. Les enfants (se laver) les mains avant de manger ?

5. Les enfants se sont lavé(se laver) les mains avant de manger ?

Bon courage et Bonne continuation