ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี การดำเนินงาน ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี ต่อการแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน
เทศบาลตำบลหนองไผ่ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี เทศบาลตำบลหนองไผ่ เป็นเทศบาลขนาดกลาง มีพื้นที่ทั้งหมด 39 ตารางกิโลเมตร มีหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ จำนวน 12 หมู่บ้าน จำนวน 2,366 หลังคาเรือน มีประชากรทั้งหมด 8,646 คน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และเลี้ยงสัตว์
จุดเริ่มต้นและความเป็นมา ของการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน สืบเนื่องจากคณะผู้บริหาร ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ ได้เข้า ร่วมประชุมหัวหน้าส่วนราชการของจังหวัดอุดรธานี ก็ได้รับทราบ รายงานผลการเจาะเลือดเพื่อวิเคราะห์สุขภาพทารกแรกเกิดทั่วไทยใน รอบ 7 ปี พบว่าจังหวัด ที่มีภาวะขาดไอโอดีนรุนแรงเกินกว่า 20 % มี 13 จังหวัด และจังหวัดที่มีภาวะขาดไอโอดีนสูงสุด คือจังหวัด อุดรธานี ขาดไอโอดีนมากเป็นอันดับ 1 ด้วยสถิติเฉลี่ย 27.49 %
วิธีดำเนินงานของเทศบาลตำบลหนองไผ่ 2. กำหนดมาตรการ การแก้ไขปัญหา 1. ผู้บริหาร กำหนดนโยบายชัดเจน การป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน 3. สร้างแกนนำในการดำเนินงาน 4. แสวงหาภาคีเครือข่ายในการดำเนินงาน
วิธีดำเนินงานของเทศบาลตำบลหนองไผ่ (ต่อ) ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนดนโยบายที่ชัดเจน คือมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้มี โครงการและกิจกรรมที่เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนในพื้นที่ โดย -พิจารณางบประมาณ ให้กับโครงการและกิจกรรมที่เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน ก่อนเป็นอันดับแรก
วิธีดำเนินงานของเทศบาลตำบลหนองไผ่ (ต่อ) กำหนดมาตรการในการแก้ไขปัญหา โดย ส่งเสริมให้ทุกหลังคาเรือนได้บริโภคเกลือเสริมไอโอดีน สนับสนุนและส่งเสริมให้ประชาชนได้บริโภคไข่ไก่เสริมไอโอดีน โดยเฉพาะในหญิงตั้งครรภ์ เด็กอายุ 2-4 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เด็กอายุ 5-12 ปี ในโรงเรียนประถมศึกษา ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอย จำหน่าย ไข่ไอโอดีน และเครื่องปรุงรสที่มีส่วนผสมของสารไอโอดีน
วิธีดำเนินงานของเทศบาลตำบลหนองไผ่ (ต่อ) สร้างแกนนำในการดำเนินงาน โดย อบรมให้ความรู้แกนนำสุขภาพ ผุ้นำชุมชน เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน ในพื้นที่ อบรมให้ความรู้ สนับสนุนและส่งเสริมให้มีแกนนำกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ เสริมไอโอดีนเข้มขั้น
วิธีดำเนินงานของเทศบาลตำบลหนองไผ่ (ต่อ) เทศบาลตำบลหนองไผ่ เริ่มจัดทำโครงการเกี่ยวกับการแก้ปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน โดยใช้นวัตกรรม “ไข่ไก่เสริมไอโอดีน” ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2554 จนถึงปัจจุบัน ดำเนินการไปแล้ว ทั้งสิ้นประมาณ 9 โครงการ โดยใช้งบประมาณ จาก - กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เทศบาลตำบลหนองไผ่ และ - เทศบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปี ของเทศบาล
กิจกรรมตามโครงการประกอบไปด้วย จัดอบรมให้ความรู้แกนนำสุขภาพ
กิจกรรมตามโครงการประกอบไปด้วย(ต่อ) จัดอบรมให้ความรู้และสนับสนุนไข่ไอโอดีนให้หญิงตั้งครรภ์
กิจกรรมตามโครงการประกอบไปด้วย(ต่อ) ส่งเสริมให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้บริโภคไข่ไอโอดีน
กิจกรรมตามโครงการประกอบไปด้วย(ต่อ) อบรมให้ความรู้กลุ่มแกนนำผู้สนใจเลี้ยงไก่ไข่เสริมไอโอดีน
กิจกรรมตามโครงการประกอบไปด้วย(ต่อ) ศึกษาดูงานเพิ่มองค์ความรู้และแสวงหาภาคีเครือข่าย
กิจกรรมตามโครงการประกอบไปด้วย(ต่อ) ศึกษาดูงานเพิ่มองค์ความรู้และแสวงหาภาคีเครือข่าย
กิจกรรมตามโครงการประกอบไปด้วย(ต่อ) สนับสุนนไก่พันธุ์ไข่ให้กลุ่มแกนนำ
กิจกรรมตามโครงการประกอบไปด้วย(ต่อ) สนับสุนนไก่พันธุ์ไข่ให้กลุ่มแกนนำ
กิจกรรมตามโครงการประกอบไปด้วย(ต่อ) สนับสนุนไก่พันธุ์ไข่ ให้โรงเรียนทุกโรงเรียน
กิจกรรมตามโครงการประกอบไปด้วย(ต่อ) สนับสนุนอาหารไก่ ในช่วงเดือนแรก
กิจกรรมตามโครงการประกอบไปด้วย(ต่อ) สนับสนุนอาหารไก่เสริมไอโอดีนเข้มขัน
สำรวจ ติดตามและประเมินผล หลังจากที่ได้สนับสนุนไก่พันธุ์ไข่เป็นระยะ สำรวจ ติดตามและประเมินผล หลังจากที่ได้สนับสนุนไก่พันธุ์ไข่เป็นระยะ
ผลการการดำเนินงาน ข้อมูลจาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพทั้ง 2 แห่ง พบว่า ผลการเจาะส้นเท้าของทารกแรกเกิด เพื่อตรวจหาภาวะพร่องไทรอยด์ เบื้องต้นแล้ว พบว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติ ไม่พบความผิดปกติ ค่า TSH มากกว่าหรือเท่ากับ 25 มิลลิยูนิต่อลิตร
รับคณะศึกษาดูงานสาธารณสุขนิเทศ เขต 8 อุดรธานี
รับคณะศึกษาดูงาน อบต. หนองหาน
รับคณะศึกษาดูงาน จาก อบต. เชียงยืน
รับคณะประเมินตำบล ไอโอดีนต้นแบบจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
25 กันยายน 2556 รับโล่รางวัลตำบลไอโอดีนโดดเด่นด้านนวัตกรรม กระบวนการขับเคลื่อนที่เข้มแข็ง ประจำปี 2556
สวัสดีครับ