สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) สนุกกับบันจีจัมป์ การประชุมปฏิบัติการครูผู้นำด้านสะเต็มศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ช่วงชั้นที่ 4) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
กิจกรรมวันนี้ ค้นหาและศึกษาแนวคิดที่ เกี่ยวข้อง วางแผนและพัฒนา ระบุปัญหา ค้นหาและศึกษาแนวคิดที่ เกี่ยวข้อง วางแผนและพัฒนา ทดสอบและประเมินผล (การ แข่งขัน) นำเสนอผลลัพธ์ และแนวทาง การปรับปรุงผลงาน
บันจีจัมป์คืออะไร?
การออกแบบบันจีจัมป์ต้องคำนึงถึงอะไรบ้าง 1. ความสูงของหอกระโดด 2 ชนิดของเชือก 3. ความยืดหยุ่นของเชือก 4. ระยะยืดของเชือก 5. น้ำหนักของคนกระโดด
ภาระกิจสะเต็มวันนี้ ออกแบบบันจีจัมป์จำลอง โดยการ ปล่อยถุงทรายมวล 1000 กรัม (2 ถุง) จากตึกสูง ให้ตกลงมาได้ใกล้ พื้นมากที่สุด (โดยไม่กระทบพื้น) โดย ใช้วัสดุที่ยืดได้ และยืดไม่ได้อย่างละ 1 เส้น
การกระโดดบันจีจัมป์ มีการเปลี่ยนรูปพลังงานอย่างไรบ้าง
การกระโดดบันจีจัมป์ มีการเปลี่ยนรูปพลังงานอย่างไรบ้าง สระน้ำ
h = ความสูงของจุดปล่อย 𝑚𝑔ℎ= 1 2 𝑘 𝑑 2 สิ่งที่ต้องหา m = มวลของถุงทราย g = สนามโน้มถ่วง h = ความสูงของจุดปล่อย k = ค่าคงตัวสปริง d = ระยะยืด สระน้ำ
หาความสูงของจุดปล่อยได้อย่างไร สระน้ำ สระน้ำ
หาความสูงของจุดปล่อยได้อย่างไร ในกรณีที่บริเวณพื้นด้านล่างเป็นสระน้ำ จะวัดความสูงอย่างไร ?? สระน้ำ
หาความสูงของจุดปล่อยได้อย่างไร C 𝐵𝐶= AB tan θ θ B A
กฎของไซน์ sin A BC = sin B AC = sin C AB C A B
ความสูงของจุดปล่อย มีวิธีการหาได้อย่างไรบ้าง h = CD = AB sin 15 ° sin 60 ° sin 75 ° D ◦ 60 ◦ ◦ 75 15 C B 60 m A
ความยืดหยุ่นของเชือก (ค่าคงตัวของสปริง) หาได้อย่างไร F = k s k = ∆𝐹 ∆𝑠
F1 F2 F3 S1 S2 S3 k = ∆𝐹 ∆𝑠 S (m) F (N)
h = x + l + d + z x = h - l - d - z
ระดับคะแนนของรายการที่ประเมิน สนุกกับบันจีจัมป์ กลุ่ม ระดับคะแนนของรายการที่ประเมิน คะแนนรวม (100 คะแนน) ผลงาน (40 คะแนน) งบประมาณ (10 คะแนน) การนำเสนอผลงาน (20 คะแนน) การใช้กระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม (15 คะแนน) การบูรณาการความรู้ (STEM) 1 2 3 4 5 6
ร่วมกันอภิปราย กิจกรรมบันจีจัมป์สามารถนำเข้า สู่ชั้นเรียนได้อย่างไร