ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
วาระที่ ๑ : เรื่องที่ประธานแจ้งต่อที่ประชุม การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันที่ ๒๙ มิถุนายน -๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘
วิเคราะห์สถานการณ์อนามัยแม่และเด็กปี ๒๕๕๘ และวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางการ แก้ไขปัญหาตัวชี้วัดที่ตกเกณฑ์ - ฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ - Asphyxia - TSH > ๑๑.๒๕ มิลลิยูนิต/ลิตร
วาระที่ ๒ :รับรองและติดตามการประชุมครั้งที่แล้ว วาระที่ ๒ :รับรองและติดตามการประชุมครั้งที่แล้ว
วาระที่ ๓ :เรื่องที่เสนอให้ที่ประชุมทราบและพิจารณา
วิเคราะห์สถานการณ์อนามัยแม่และเด็กปี ๒๕๕๘ และวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางการ แก้ไขปัญหาตัวชี้วัดที่ตกเกณฑ์ - ฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ - Asphyxia - TSH > ๑๑.๒๕ มิลลิยูนิต/ลิตร
สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 58 เอกสารหมายเลข ๓ สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 58 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน 1.อัตราส่วนมารดาตาย 15:100000 2. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์หรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60 47.07 3.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ 46.46 4.หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 65 44.94 5. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการเจาะเลือดครั้งที่ 1 มีภาวะซีด ร้อยละ 10 13.97 6. อัตราการขาดออกซิเจนระหว่างคลอด 25 : 1,000 การเกิดมีชีพ 29.19 7. ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 7 9.47 ที่มา : รายงานอนามัยแม่และเด็กเขตสุขภาพที่ 2 ณ เดือนมีนาคม 2558
สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 58 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน 8.เด็กแรกเกิด- 6 เดือนกินนมแม่ ร้อยละ 50 59.9 9. เด็กอายุ 0 – 5 ปีมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 99.2 10.เด็กอายุ 18,30 เดือนได้รับการคัดกรองพัฒนาการทุกคน ร้อยละ 100 100 11.ทารกแรกเกิดมีระดับTSH>11.25 มิลลิยูนิต/ลิตร ร้อยละ 3 6.61 12.การคลอดบุตรมารดาอายุ 15-19 ปีต่อการคลอดทั้งหมด ร้อยละ 10 17.95 13.การตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุ 15-19 ปี 15.2 ที่มา : รายงานอนามัยแม่และเด็กเขตสุขภาพที่ 2 ณ เดือนมีนาคม 2558
ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรก ≤ 12 สัปดาห์ (ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60) N/A ที่มา : รายงานอนามัยแม่และเด็กเขตสุขภาพที่ 2 ณ เดือนมีนาคม 2558
ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ (ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60) N/A ที่มา : รายงานอนามัยแม่และเด็กเขตสุขภาพที่ 2 ณ เดือนมีนาคม 2558
ร้อยละหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ (ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 65) N/A ที่มา : รายงานอนามัยแม่และเด็กเขตสุขภาพที่ 2 ณ เดือนมีนาคม 2558
ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการเจาะเลือดครั้งแรก มีภาวะโลหิตจางHct<33% (ไม่เกินร้อยละ 10) N/A ที่มา : รายงานอนามัยแม่และเด็กเขตสุขภาพที่ 2 ณ เดือนมีนาคม 2558
อัตราการคลอดในมาดาอายุ 15-19 ปี จำแนกรายอำเภอ (ไม่เกินร้อยละ 10ของการคลอดทั้งหมด) ที่มา : รายงานอนามัยแม่และเด็กเขตสุขภาพที่ 2 ณ เดือนมีนาคม 2558
อัตราการขาดออกซิเจนระหว่างคลอด (ไม่เกิน 25 ต่อการเกิดมีชีพพันคน) อัตราการขาดออกซิเจนระหว่างคลอด (ไม่เกิน 25 ต่อการเกิดมีชีพพันคน) ที่มา : รายงานอนามัยแม่และเด็กเขตสุขภาพที่ 2 ณ เดือนมีนาคม 2558
อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (ไม่เกิน ร้อยละ 7) อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (ไม่เกิน ร้อยละ 7) ที่มา : รายงานอนามัยแม่และเด็กเขตสุขภาพที่ 2 ณ เดือนมีนาคม 2558
ทารกแรกเกิดทารกแรกเกิดมี TSH>11 ที่มา : รายงานอนามัยแม่และเด็กเขตสุขภาพที่ 2 ณ เดือนมีนาคม 2558
แนวทางการคัดกรองพัฒนาการเด็กปี ๒๕๕๘ และเตรียมรณรงค์ตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กอายุ ๔๒ เดือน ในศูนย์เด็กเล็กทุกแห่ง
การดำเนินงานควบคุมและป้องกัน โรคธาลัสซีเมีย: โรงพยาบาลอุตรดิตถ์
แนวทางการแก้ไขปัญหาการทำแท้งเมื่อ ท้องไม่พร้อม : โรงพยาบาลอุตรดิตถ์
วาระที่ ๔ :เรื่องอื่นๆ
การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก : สปสช.พิษณุโลก
Thank You !