สถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำ กฟผ. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นิติบุคคลอาคารชุด วันพลัส คอนโด สวนดอก 2
Advertisements

นิติบุคคลอาคารชุดวันพลัส คอนโด นายน์ทีน 1
ชุมชนของเรา ชุมชนอบอุ่น MANAGEMENT BY P.PROPERTY MANAGEMENT.CO,LTD
สถานการณ์น้ำในปัจจุบัน
1. แนวทางการรับคำสั่งการใช้ รถ การประกันระยะเวลาการ รับส่งผู้ป่วย 4. ความรู้ความสามารถของ พขร. ในเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพ การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย กฎจราจร.
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
NKM 4 โรงไฟฟ้าแม่เมาะ.
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2019 พนักงานราชการ 44 ลูกจ้างประจำ 11 รวม 3534 อัตราข้าราชการ 3 ตำแหน่ง อัตราว่าง 1 เจ้าพนักงานธุรการอาวุโส มาช่วยราชการ - ไปช่วยราชการ.
ระยอง นายสมชัย ฉายศรีศิริ นายปรพล เจริญพงษ์ นายสมหมาย เอี่ยมมงคลสกุล
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 20 พนักงาน ราชการ 55 ลูกจ้างประ จำ 10 รวม 35 อัต รา ข้าราชการ 3 ตำแหน่ง อัตราว่าง - มาช่วย ราชการ - ไปช่วย ราชการ 2 (1. นางศรินทร์
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 14 พนักงาน ราชการ 65 ลูกจ้าง 66 รวม 26 อัตราว่าง - มาช่วย ราชการ นักวิเคราะห์ผังเมืองชำนาญการ ช่วยราชการสำนักงาน โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดพิษณุโลก.
ความจุที่ระดับเก็บกักปกติ ล้าน ลบ. ม. ( ระดับ ม.- รทก.) ความจุที่ระดับเก็บกักต่ำสุด ล้าน ลบ. ม. ( ระดับ ม.- รทก.) เกณฑ์การเก็บ.
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
การประชุมประจำเดือนครั้งที่ 5-6/2558
การดำเนินการหลังการประกาศ การชะลอการเพาะปลูกข้าวนาปีใน พื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ปี 2558/59 กรมส่งเสริม การเกษตร.
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
รายงานความก้าวหน้า การสนองพระราชดำริด้านงานวิจัย จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดือนมีนาคม.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา น. ณ ห้องบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ อาคาร 3 ชั้น 5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ปริมาณน้ำใช้ การได้เขื่อน กฟผ. 15 มิถุนายน 2559.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ไฟฟ้า.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ไฟฟ้า.
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 7 พฤษภาคม 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
โรงต้นกำลัง การผลิต และโหลด
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
เรื่อง อันตรายของเสียง
1.
ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ดัชนีชี้วัดพลังงาน.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 21 เมษายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 22 มิถุนายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. และ 1.
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
นโยบายระบบส่งน้ำและการกระจายน้ำ โครงการชลประทานเพชรบุรี
สถานการณ์พลังงานปี 2560 และแนวโน้มปี 2561
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ภาพรวมพลังงาน.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
ลำปาง นายยรรยง พลสันติกุล สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ธันวาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 3 ธันวาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 พฤศจิกายน 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. และ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาราชบุรีฝั่งซ้าย
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 15 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำ กฟผ. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 9 มิถุนายน 2558

สถานการณ์น้ำเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ น้ำใช้งานได้ 8 มิ.ย. 2558 = 457 ล้าน ลบ.ม. น้อยมากเป็นลำดับที่ 4 (รองจากปี 2535, 2534, 2553) ปริมาณน้ำไหลเข้าเขื่อน 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2558 = 4 ล้าน ลบ.ม. น้อยมากเป็นลำดับที่ 2 (รองจากปี 2535) (ปี 2541 น้อยมากเป็นลำดับที่ 4) ปริมาณน้ำระบาย 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2558 = 811 ล้าน ลบ.ม. (เฉลี่ยวันละ 21 ล้าน ลบ.ม) 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2535 น้ำระบาย 469 ล้าน ลบ.ม. (เฉลี่ยวันละ 12 ล้าน ลบ.ม) 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2534 น้ำระบาย 228 ล้าน ลบ.ม. (เฉลี่ยวันละ 6 ล้าน ลบ.ม) 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2553 น้ำระบาย 457 ล้าน ลบ.ม. (เฉลี่ยวันละ 12 ล้าน ลบ.ม) 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2541 น้ำระบาย 516 ล้าน ลบ.ม. (เฉลี่ยวันละ 13 ล้าน ลบ.ม) 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2537 น้ำระบาย 174 ล้าน ลบ.ม. (เฉลี่ยวันละ 4.5 ล้าน ลบ.ม)

สถานการณ์น้ำเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนสิริกิต์ ระดับน้ำในอ่างฯ ต่ำกว่า +135.5 ม.รทก. ผลกระทบต้องมีการสูบน้ำที่คลองสิงห์ น้ำใช้งานได้ 8 มิ.ย. 2558 = 831 ล้าน ลบ.ม. น้อยมากเป็นลำดับที่ 9 (ลำดับที่ 1 ปี 2535) ปริมาณน้ำไหลเข้าเขื่อน 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2558 = 159 ล้าน ลบ.ม. น้อยมากเป็นลำดับที่ 7 (ลำดับที่ 1 ปี 2535) (ปี 2541 น้อยมากเป็นลำดับที่ 4) ปริมาณน้ำระบาย 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2558 = 1,217 ล้าน ลบ.ม. (เฉลี่ยวันละ 31 ล้าน ลบ.ม) 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2535 น้ำระบาย 367 ล้าน ลบ.ม. (เฉลี่ยวันละ 9 ล้าน ลบ.ม) 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2536 น้ำระบาย 413 ล้าน ลบ.ม. (เฉลี่ยวันละ 11 ล้าน ลบ.ม) 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2537 น้ำระบาย 108 ล้าน ลบ.ม. (เฉลี่ยวันละ 3 ล้าน ลบ.ม) 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2541 น้ำระบาย 373 ล้าน ลบ.ม. (เฉลี่ยวันละ 10 ล้าน ลบ.ม)

พ.ค. ปริมาณน้ำไหลเข้าเขื่อนภูมิพลอยู่ในเกณฑ์น้อยมาก (เหมือนปี 2541 ปริมาณน้ำไหลเข้าเดือน พ.ค. เฉลี่ยวันละ 0.4 ล้าน ลบ.ม., มิ.ย. เฉลี่ยวันละ 0.14 ล้าน ลบ.ม., ก.ค. เฉลี่ยวันละ 3 ล้าน ลบ.ม.)

ปริมาณน้ำขั้นต่ำในอ่างเก็บน้ำเพื่อรองรับวิกฤตภัยแล้ง ตั้งแต่ 8 มิ.ย. – 31 ก.ค.

แผนระบายน้ำเสนอแนะ กรณีปริมาณน้ำไหลเข้าเขื่อนเหมือนปี 2541 (แผนเดิม) มิ.ย. 2558 ก.ค. 2558 ส.ค. 2558 ก.ย. 2558 ต.ค. 2558 แผนระบายน้ำเสนอแนะ 10-12 5 4 3 ล้าน ลบ.ม./วัน (แผนเดิม) (19-22) (14)

คาดการณ์สถานการณ์น้ำเขื่อนภูมิพล มิ.ย. ก.ค. ส.ค.

แผนระบายน้ำเสนอแนะ กรณีปริมาณน้ำไหลเข้าเขื่อนเหมือนปี 2535 (แผนเดิม) มิ.ย. 2558 ก.ค. 2558 ส.ค. 2558 ก.ย. 2558 ต.ค. 2558 แผนระบายน้ำเสนอแนะ 20-25 15 4 3 ล้าน ลบ.ม./วัน (แผนเดิม) (28-33) (21)

คาดการณ์สถานการณ์น้ำเขื่อนสิริกิติ์

มาตรการรองรับการหยุดจ่ายก๊าซธรรมชาติ จากแหล่ง JDA-A18 ปี 2558 วันที่ 19 – 23 กรกฎาคม 2558 (5 วัน) : Booster tie-in and Bridge installation วันที่ 10 – 21 มกราคม 2559 (12 วัน) : Commissioning Compressor โรงไฟฟ้าจะนะรับก๊าซฯจากแหล่งก๊าซฯ JDA-A18 เพียงแหล่งเดียว ทำให้เมื่อมีการทำงานแหล่ง JDA-A18 จะส่งผลให้โรงไฟฟ้าจะนะ : ชุดที่ 1 เดินเครื่องด้วยดีเซล ชุดที่ 2 ไม่สามารถเดินเครื่องได้

มาตรการรองรับภาวะวิกฤตภัยแล้ง ปี 2558 1. ระบบผลิต 2. ระบบส่ง 3. แผนการระบายน้ำ (เพื่อรักษาปริมาณน้ำสำรองเพื่อความมั่นคงด้านการรักษาระบบนิเวศ การอุปโภค-บริโภคอย่างเคร่งครัด ตามแผนบริหารความเสี่ยง) 4. ประเมินผลกระทบ พื้นที่ใดบ้างที่ได้รับผลกระทบ 5. การประชาสัมพันธ์เชิงรุก แจ้งเตือนก่อนเกิดเหตุ 6. มาตรการให้การช่วยเหลือ 7. แผนรองรับวิกฤติภัยแล้ง (9 มิ.ย.-31 ก.ค.) 8. แผนบริหารความเสี่ยง

คาดการณ์กำลังผลิตภาคใต้ช่วงงาน JDA-A18 พลังไฟฟ้าผ่านสายส่งเชื่อมโยง ภาคกลาง-ภาคใต้ สูงสุด 1,050 เมกะวัตต์ มาตรฐานความมั่นคงระบบไฟฟ้า N-1 600 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้า กำลังผลิต หมายเหตุ รฟ.รัชชประภา 240 พลังน้ำ รฟ.บางลาง+บ้านสันติ 49 SPP 29 Renew รฟ.จะนะ1 650 ดีเซล รฟ.จะนะ2 ต้องหยุดเดินเครื่อง รฟ.ขนอมพลังความร้อนร่วมชุดที่1 615 ก๊าซจากอ่าวไทย รฟ.ขนอมพลังความร้อนชุดที่2 70 รฟ.กระบี่ 315 น้ำมันเตา รฟ.สุราษฎร์ 230 น้ำมันดีเซล HVDC 30 TNB Tieline ภาคกลาง->ภาคใต้ (N-1) 600  - รวมกำลังผลิตที่รองรับ N-1 2,828 รองรับ N-1 หมายถึง รองรับอุปกรณ์ใดๆ ขัดข้อง 1 อุปกรณ์ แล้ว ไม่มีไฟฟ้าดับ

มาตรการรองรับการหยุดจ่ายก๊าซธรรมชาติ จากแหล่ง JDA-A18 ปี 2558 1. ระบบผลิต รฟ.จะนะชุดที่ 1 พร้อมเดินเครื่องด้วยดีเซล ตรวจสอบโรงไฟฟ้าในภาคใต้ทั้งหมดให้พร้อมใช้งานก่อนเริ่มการทำงานแหล่งก๊าซ งดการหยุดเครื่องบำรุงรักษาโรงไฟฟ้าภาคใต้ ในช่วงการทำงานแหล่งก๊าซฯ ประสานการไฟฟ้ามาเลเซียขอซื้อไฟฟ้าผ่าน HVDC 2. ระบบส่ง ตรวจสอบสายส่งและอุปกรณ์สำคัญในภาคใต้ให้พร้อมใช้งาน ก่อนเริ่มการทำงานแหล่งก๊าซฯ งดการทำงานระบบส่งภาคใต้ช่วงการทำงานแหล่งก๊าซฯ สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า ปี 2556 * ก๊าซธรรมชาติ = 67.42 % (กฟผ. 27.79 % + IPP 29.69 % + SPP 9.94 %) ถ่านหิน = 19.24 % (กฟผ. 9.86 % + IPP 8.23 % + SPP 1.15 %) พลังน้ำ = 10.29 % (กฟผ. 3.11 % + ลาว 7.16 % + กรมพัฒนาฯ 0.02 %) ในประเทศ = 3.13 % ต่างประเทศ = 7.16 % น้ำมัน = 1.03 % น้ำมันเตา = 0.82 % (กฟผ. 0.69 % + IPP 0.11 % + SPP 0.02 %) น้ำมันดีเซล = 0.21 % (กฟผ. 0.10 % + IPP 0.11 %) พลังงานหมุนเวียน = 1.94 % ซื้อมาเลเซีย = 0.08 % กฟผ. ผลิต = 72,113.94 ล้านหน่วย (41.56 %) ซื้อ = 101,421.50 ล้านหน่วย (58.44 %) รวม = 173,535.44 ล้านหน่วย สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า ปี 2555 กฟผ. ผลิต = 77,502.85 ล้านหน่วย (44.75 %) ซื้อ = 95,702.28 ล้านหน่วย (55.25 %) รวม = 173,205.13 ล้านหน่วย หมายเหตุ * ข้อมูลเบื้องต้น สัดส่วนโดยประมาณ อ่าวไทย 1550(57%) พม่า 1000(38%) น้ำพอง 130(5%) จุดซื้อไฟฟ้าลาว 1 หนองคาย-โพนต้อง (น้ำงึม1) 2 อุดร3-นาบอง (น้ำงึม2) 3 นครพนม-ท่าแขก (เทินหินบุญ) 4 ร้อยเอ็ด2 (น้ำทิน2) 5 อุบล2 (ห้วยเฮาะ) 14

มาตรการรองรับ งาน JDA-A18 ปี 2558 3. เชื้อเพลิง สำรองน้ำมันเต็มความสามารถกักเก็บก่อนเริ่มทำงานแหล่งก๊าซฯ ประสานงาน ปตท. จัดส่งน้ำมันระหว่างงาน เพื่อให้สามารถรองรับงานล่าช้า 4. Demand side รณรงค์ลดการใช้ไฟฟ้า โดยเฉพาะในช่วง 18.00 – 21.30 น. ใช้มาตรการ Demand Response โดยเฉพาะในช่วง 18.00 – 21.30 น. สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า ปี 2556 * ก๊าซธรรมชาติ = 67.42 % (กฟผ. 27.79 % + IPP 29.69 % + SPP 9.94 %) ถ่านหิน = 19.24 % (กฟผ. 9.86 % + IPP 8.23 % + SPP 1.15 %) พลังน้ำ = 10.29 % (กฟผ. 3.11 % + ลาว 7.16 % + กรมพัฒนาฯ 0.02 %) ในประเทศ = 3.13 % ต่างประเทศ = 7.16 % น้ำมัน = 1.03 % น้ำมันเตา = 0.82 % (กฟผ. 0.69 % + IPP 0.11 % + SPP 0.02 %) น้ำมันดีเซล = 0.21 % (กฟผ. 0.10 % + IPP 0.11 %) พลังงานหมุนเวียน = 1.94 % ซื้อมาเลเซีย = 0.08 % กฟผ. ผลิต = 72,113.94 ล้านหน่วย (41.56 %) ซื้อ = 101,421.50 ล้านหน่วย (58.44 %) รวม = 173,535.44 ล้านหน่วย สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า ปี 2555 กฟผ. ผลิต = 77,502.85 ล้านหน่วย (44.75 %) ซื้อ = 95,702.28 ล้านหน่วย (55.25 %) รวม = 173,205.13 ล้านหน่วย หมายเหตุ * ข้อมูลเบื้องต้น สัดส่วนโดยประมาณ อ่าวไทย 1550(57%) พม่า 1000(38%) น้ำพอง 130(5%) จุดซื้อไฟฟ้าลาว 1 หนองคาย-โพนต้อง (น้ำงึม1) 2 อุดร3-นาบอง (น้ำงึม2) 3 นครพนม-ท่าแขก (เทินหินบุญ) 4 ร้อยเอ็ด2 (น้ำทิน2) 5 อุบล2 (ห้วยเฮาะ) 15

แผนบริหารความเสี่ยง หมายเหตุ : เขื่อนภูมิพล ปริมาณน้ำใช้งานได้ต่ำสุด 75 ล้าน ลบ.ม. วันที่ 8 ก.ค. 2535 เขื่อนสิริกิติ์ ปริมาณน้ำใช้งานได้ต่ำสุด 104 ล้าน ลบ.ม. วันที่ 9 ก.ค. 2535

จบการรายงาน