สถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำ กฟผ. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 9 มิถุนายน 2558
สถานการณ์น้ำเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ น้ำใช้งานได้ 8 มิ.ย. 2558 = 457 ล้าน ลบ.ม. น้อยมากเป็นลำดับที่ 4 (รองจากปี 2535, 2534, 2553) ปริมาณน้ำไหลเข้าเขื่อน 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2558 = 4 ล้าน ลบ.ม. น้อยมากเป็นลำดับที่ 2 (รองจากปี 2535) (ปี 2541 น้อยมากเป็นลำดับที่ 4) ปริมาณน้ำระบาย 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2558 = 811 ล้าน ลบ.ม. (เฉลี่ยวันละ 21 ล้าน ลบ.ม) 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2535 น้ำระบาย 469 ล้าน ลบ.ม. (เฉลี่ยวันละ 12 ล้าน ลบ.ม) 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2534 น้ำระบาย 228 ล้าน ลบ.ม. (เฉลี่ยวันละ 6 ล้าน ลบ.ม) 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2553 น้ำระบาย 457 ล้าน ลบ.ม. (เฉลี่ยวันละ 12 ล้าน ลบ.ม) 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2541 น้ำระบาย 516 ล้าน ลบ.ม. (เฉลี่ยวันละ 13 ล้าน ลบ.ม) 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2537 น้ำระบาย 174 ล้าน ลบ.ม. (เฉลี่ยวันละ 4.5 ล้าน ลบ.ม)
สถานการณ์น้ำเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนสิริกิต์ ระดับน้ำในอ่างฯ ต่ำกว่า +135.5 ม.รทก. ผลกระทบต้องมีการสูบน้ำที่คลองสิงห์ น้ำใช้งานได้ 8 มิ.ย. 2558 = 831 ล้าน ลบ.ม. น้อยมากเป็นลำดับที่ 9 (ลำดับที่ 1 ปี 2535) ปริมาณน้ำไหลเข้าเขื่อน 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2558 = 159 ล้าน ลบ.ม. น้อยมากเป็นลำดับที่ 7 (ลำดับที่ 1 ปี 2535) (ปี 2541 น้อยมากเป็นลำดับที่ 4) ปริมาณน้ำระบาย 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2558 = 1,217 ล้าน ลบ.ม. (เฉลี่ยวันละ 31 ล้าน ลบ.ม) 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2535 น้ำระบาย 367 ล้าน ลบ.ม. (เฉลี่ยวันละ 9 ล้าน ลบ.ม) 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2536 น้ำระบาย 413 ล้าน ลบ.ม. (เฉลี่ยวันละ 11 ล้าน ลบ.ม) 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2537 น้ำระบาย 108 ล้าน ลบ.ม. (เฉลี่ยวันละ 3 ล้าน ลบ.ม) 1 พ.ค.-8 มิ.ย. 2541 น้ำระบาย 373 ล้าน ลบ.ม. (เฉลี่ยวันละ 10 ล้าน ลบ.ม)
พ.ค. ปริมาณน้ำไหลเข้าเขื่อนภูมิพลอยู่ในเกณฑ์น้อยมาก (เหมือนปี 2541 ปริมาณน้ำไหลเข้าเดือน พ.ค. เฉลี่ยวันละ 0.4 ล้าน ลบ.ม., มิ.ย. เฉลี่ยวันละ 0.14 ล้าน ลบ.ม., ก.ค. เฉลี่ยวันละ 3 ล้าน ลบ.ม.)
ปริมาณน้ำขั้นต่ำในอ่างเก็บน้ำเพื่อรองรับวิกฤตภัยแล้ง ตั้งแต่ 8 มิ.ย. – 31 ก.ค.
แผนระบายน้ำเสนอแนะ กรณีปริมาณน้ำไหลเข้าเขื่อนเหมือนปี 2541 (แผนเดิม) มิ.ย. 2558 ก.ค. 2558 ส.ค. 2558 ก.ย. 2558 ต.ค. 2558 แผนระบายน้ำเสนอแนะ 10-12 5 4 3 ล้าน ลบ.ม./วัน (แผนเดิม) (19-22) (14)
คาดการณ์สถานการณ์น้ำเขื่อนภูมิพล มิ.ย. ก.ค. ส.ค.
แผนระบายน้ำเสนอแนะ กรณีปริมาณน้ำไหลเข้าเขื่อนเหมือนปี 2535 (แผนเดิม) มิ.ย. 2558 ก.ค. 2558 ส.ค. 2558 ก.ย. 2558 ต.ค. 2558 แผนระบายน้ำเสนอแนะ 20-25 15 4 3 ล้าน ลบ.ม./วัน (แผนเดิม) (28-33) (21)
คาดการณ์สถานการณ์น้ำเขื่อนสิริกิติ์
มาตรการรองรับการหยุดจ่ายก๊าซธรรมชาติ จากแหล่ง JDA-A18 ปี 2558 วันที่ 19 – 23 กรกฎาคม 2558 (5 วัน) : Booster tie-in and Bridge installation วันที่ 10 – 21 มกราคม 2559 (12 วัน) : Commissioning Compressor โรงไฟฟ้าจะนะรับก๊าซฯจากแหล่งก๊าซฯ JDA-A18 เพียงแหล่งเดียว ทำให้เมื่อมีการทำงานแหล่ง JDA-A18 จะส่งผลให้โรงไฟฟ้าจะนะ : ชุดที่ 1 เดินเครื่องด้วยดีเซล ชุดที่ 2 ไม่สามารถเดินเครื่องได้
มาตรการรองรับภาวะวิกฤตภัยแล้ง ปี 2558 1. ระบบผลิต 2. ระบบส่ง 3. แผนการระบายน้ำ (เพื่อรักษาปริมาณน้ำสำรองเพื่อความมั่นคงด้านการรักษาระบบนิเวศ การอุปโภค-บริโภคอย่างเคร่งครัด ตามแผนบริหารความเสี่ยง) 4. ประเมินผลกระทบ พื้นที่ใดบ้างที่ได้รับผลกระทบ 5. การประชาสัมพันธ์เชิงรุก แจ้งเตือนก่อนเกิดเหตุ 6. มาตรการให้การช่วยเหลือ 7. แผนรองรับวิกฤติภัยแล้ง (9 มิ.ย.-31 ก.ค.) 8. แผนบริหารความเสี่ยง
คาดการณ์กำลังผลิตภาคใต้ช่วงงาน JDA-A18 พลังไฟฟ้าผ่านสายส่งเชื่อมโยง ภาคกลาง-ภาคใต้ สูงสุด 1,050 เมกะวัตต์ มาตรฐานความมั่นคงระบบไฟฟ้า N-1 600 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้า กำลังผลิต หมายเหตุ รฟ.รัชชประภา 240 พลังน้ำ รฟ.บางลาง+บ้านสันติ 49 SPP 29 Renew รฟ.จะนะ1 650 ดีเซล รฟ.จะนะ2 ต้องหยุดเดินเครื่อง รฟ.ขนอมพลังความร้อนร่วมชุดที่1 615 ก๊าซจากอ่าวไทย รฟ.ขนอมพลังความร้อนชุดที่2 70 รฟ.กระบี่ 315 น้ำมันเตา รฟ.สุราษฎร์ 230 น้ำมันดีเซล HVDC 30 TNB Tieline ภาคกลาง->ภาคใต้ (N-1) 600 - รวมกำลังผลิตที่รองรับ N-1 2,828 รองรับ N-1 หมายถึง รองรับอุปกรณ์ใดๆ ขัดข้อง 1 อุปกรณ์ แล้ว ไม่มีไฟฟ้าดับ
มาตรการรองรับการหยุดจ่ายก๊าซธรรมชาติ จากแหล่ง JDA-A18 ปี 2558 1. ระบบผลิต รฟ.จะนะชุดที่ 1 พร้อมเดินเครื่องด้วยดีเซล ตรวจสอบโรงไฟฟ้าในภาคใต้ทั้งหมดให้พร้อมใช้งานก่อนเริ่มการทำงานแหล่งก๊าซ งดการหยุดเครื่องบำรุงรักษาโรงไฟฟ้าภาคใต้ ในช่วงการทำงานแหล่งก๊าซฯ ประสานการไฟฟ้ามาเลเซียขอซื้อไฟฟ้าผ่าน HVDC 2. ระบบส่ง ตรวจสอบสายส่งและอุปกรณ์สำคัญในภาคใต้ให้พร้อมใช้งาน ก่อนเริ่มการทำงานแหล่งก๊าซฯ งดการทำงานระบบส่งภาคใต้ช่วงการทำงานแหล่งก๊าซฯ สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า ปี 2556 * ก๊าซธรรมชาติ = 67.42 % (กฟผ. 27.79 % + IPP 29.69 % + SPP 9.94 %) ถ่านหิน = 19.24 % (กฟผ. 9.86 % + IPP 8.23 % + SPP 1.15 %) พลังน้ำ = 10.29 % (กฟผ. 3.11 % + ลาว 7.16 % + กรมพัฒนาฯ 0.02 %) ในประเทศ = 3.13 % ต่างประเทศ = 7.16 % น้ำมัน = 1.03 % น้ำมันเตา = 0.82 % (กฟผ. 0.69 % + IPP 0.11 % + SPP 0.02 %) น้ำมันดีเซล = 0.21 % (กฟผ. 0.10 % + IPP 0.11 %) พลังงานหมุนเวียน = 1.94 % ซื้อมาเลเซีย = 0.08 % กฟผ. ผลิต = 72,113.94 ล้านหน่วย (41.56 %) ซื้อ = 101,421.50 ล้านหน่วย (58.44 %) รวม = 173,535.44 ล้านหน่วย สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า ปี 2555 กฟผ. ผลิต = 77,502.85 ล้านหน่วย (44.75 %) ซื้อ = 95,702.28 ล้านหน่วย (55.25 %) รวม = 173,205.13 ล้านหน่วย หมายเหตุ * ข้อมูลเบื้องต้น สัดส่วนโดยประมาณ อ่าวไทย 1550(57%) พม่า 1000(38%) น้ำพอง 130(5%) จุดซื้อไฟฟ้าลาว 1 หนองคาย-โพนต้อง (น้ำงึม1) 2 อุดร3-นาบอง (น้ำงึม2) 3 นครพนม-ท่าแขก (เทินหินบุญ) 4 ร้อยเอ็ด2 (น้ำทิน2) 5 อุบล2 (ห้วยเฮาะ) 14
มาตรการรองรับ งาน JDA-A18 ปี 2558 3. เชื้อเพลิง สำรองน้ำมันเต็มความสามารถกักเก็บก่อนเริ่มทำงานแหล่งก๊าซฯ ประสานงาน ปตท. จัดส่งน้ำมันระหว่างงาน เพื่อให้สามารถรองรับงานล่าช้า 4. Demand side รณรงค์ลดการใช้ไฟฟ้า โดยเฉพาะในช่วง 18.00 – 21.30 น. ใช้มาตรการ Demand Response โดยเฉพาะในช่วง 18.00 – 21.30 น. สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า ปี 2556 * ก๊าซธรรมชาติ = 67.42 % (กฟผ. 27.79 % + IPP 29.69 % + SPP 9.94 %) ถ่านหิน = 19.24 % (กฟผ. 9.86 % + IPP 8.23 % + SPP 1.15 %) พลังน้ำ = 10.29 % (กฟผ. 3.11 % + ลาว 7.16 % + กรมพัฒนาฯ 0.02 %) ในประเทศ = 3.13 % ต่างประเทศ = 7.16 % น้ำมัน = 1.03 % น้ำมันเตา = 0.82 % (กฟผ. 0.69 % + IPP 0.11 % + SPP 0.02 %) น้ำมันดีเซล = 0.21 % (กฟผ. 0.10 % + IPP 0.11 %) พลังงานหมุนเวียน = 1.94 % ซื้อมาเลเซีย = 0.08 % กฟผ. ผลิต = 72,113.94 ล้านหน่วย (41.56 %) ซื้อ = 101,421.50 ล้านหน่วย (58.44 %) รวม = 173,535.44 ล้านหน่วย สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า ปี 2555 กฟผ. ผลิต = 77,502.85 ล้านหน่วย (44.75 %) ซื้อ = 95,702.28 ล้านหน่วย (55.25 %) รวม = 173,205.13 ล้านหน่วย หมายเหตุ * ข้อมูลเบื้องต้น สัดส่วนโดยประมาณ อ่าวไทย 1550(57%) พม่า 1000(38%) น้ำพอง 130(5%) จุดซื้อไฟฟ้าลาว 1 หนองคาย-โพนต้อง (น้ำงึม1) 2 อุดร3-นาบอง (น้ำงึม2) 3 นครพนม-ท่าแขก (เทินหินบุญ) 4 ร้อยเอ็ด2 (น้ำทิน2) 5 อุบล2 (ห้วยเฮาะ) 15
แผนบริหารความเสี่ยง หมายเหตุ : เขื่อนภูมิพล ปริมาณน้ำใช้งานได้ต่ำสุด 75 ล้าน ลบ.ม. วันที่ 8 ก.ค. 2535 เขื่อนสิริกิติ์ ปริมาณน้ำใช้งานได้ต่ำสุด 104 ล้าน ลบ.ม. วันที่ 9 ก.ค. 2535
จบการรายงาน