กระบวนการถ่ายทอดความรู้ พนิตนาฏ วิสุทธิธรรม
กระบวนการถ่ายทอดความรู้ จำเป็นต้องตระหนัก และคำนึงถึงในการถ่ายทอดความรู้ทุกครั้ง จึงมีความจำเป็นที่ผู้ถ่ายทอดจะต้องวิเคราะห์องค์ประกอบ
องค์ประกอบของการถ่ายทอดความรู้ ใครคือผู้รับการถ่ายทอด หรือผู้ฟังนั่นเอง เรื่องประเด็น เนื้อหา ที่จะถ่ายทอด ตรงกับความต้องการของผู้ฟังหรือไม่ วิธีการถ่ายทอดความรู้ - การบรรยาย - การอภิปราย - การฝึกปฏิบัติ - กรณีตัวอย่าง
องค์ประกอบของการถ่ายทอดความรู้ สื่อ อุปกรณ์ สถานที่ ขนาดและสี ความน่าสนใจ และเข้าใจง่าย ทุกอย่างจะต้อง มีความเหมาะสมกับผู้ฟัง และจำนวนคนที่มาก น้อย ความกว้างและแคบของสถานที่ ล้วนมีผลต่อการรับฟังและการมองเห็น การประเมินผล การติดตามผล
การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมกับงานพัฒนาชุมชน ถูกใช้เพื่อส่งเสริมและขยายการพัฒนา ตลอดจนทำให้งานพัฒนาดำเนินไปได้โดยสะดวก ทำหน้าที่เป็นกลไกที่จะผลักดันให้การพัฒนาชุมชนเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ เป็นในช่องทางในการเข้าถึงชุมชนและกระบวนการมีส่วนร่วมกับประชาชน ทำให้เกิดการถ่ายทอดทางความคิด ความจริง ความคิดเห็น เกิดความเข้าใจอันดี
ความสำคัญของการสื่อสารในงานพัฒนาชุมชน การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนอาศัยอยู่บนพื้นฐานของกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนโดยในแต่ละชุมชนจะมีการพัฒนาไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชนในมิติต่าง ๆ เช่นมิติทางด้านเศรษฐกิจมิติทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ มิติทางด้านสังคม และมิติทางด้านวัฒนธรรม
ความสำคัญของการสื่อสารในงานพัฒนาชุมชน การมีส่วนร่วมและความร่วมมือในการพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง ทำให้ลักษณะงานออกมาได้ผลดี การสื่อสารเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยสร้างการยอมรับและผลักดันให้เกิดความสำเร็จขึ้นในงานพัฒนารวมทั้งสามารถจัดลำดับความสำคัญของปัญหาและแนวทางแก้ไขให้สอดคล้องกับชุมชน
การสื่อสารที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาชุมชน ความหลากหลายของผู้เข้าร่วม การเข้าถึงสื่อ ความเชื่อมั่นในศักยภาพของมนุษย์ ความโดดเด่นของสาร การปรึกษาหารือ การสนับสนุน กระบวนการเชิงประชาธิปไตย
ประกอบด้วยขั้นตอนสำคัญ 4 ประการคือ ขั้นตอนในการปฏิบัติการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม ประกอบด้วยขั้นตอนสำคัญ 4 ประการคือ 1. การสร้างสัมพันธภาพกับชุมชน 2. การสร้างกระบวนการปรึกษาหารือกับชุมชน 3. การร่วมกันพัฒนา/ปรับปรุงระบบการสื่อสาร 4. การร่วมกันพัฒนาระบบและการดำเนินการประเมินผล
ขั้นตอนในการปฏิบัติการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม 1. การสร้างสัมพันธภาพกับชุมชน การพบปะผู้นำ การค้นหาบุคคลในพื้นที่เข้าร่วมเป็นทีมวิจัย การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆในชุมชน
ขั้นตอนในการปฏิบัติการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม 2. การสร้างกระบวนการปรึกษาหารือกับชุมชน การประสานงานกับสมาชิกชุมชน การกำหนดความชัดเจนเกี่ยวกับหน้าที่ของสื่อและบทบาทของบุคคลที่ทำหน้าที่เลือกใช้สื่อ การออกแบบและดำเนินการปรึกษาหารือ
ขั้นตอนในการปฏิบัติการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม 3. การร่วมกันพัฒนา/ปรับปรุงระบบการสื่อสาร การจัดตั้งทีมงาน การเสริมสร้างศักยภาพของทีมงาน การสนับสนุนการปฏิบัติการสื่อสารในพื้นที่
ขั้นตอนในการปฏิบัติการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม 4. การร่วมกันพัฒนาระบบและการดำเนินการประเมินผล การประสานงานกับสมาชิกชุมชน การออกแบบกระบวนการ
ผลของการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมต่อชุมชน ผลของการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมต่อชุมชน ผลในระดับบุคคล นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงในเชิงความคิด ความรู้สึก และทักษะต่างๆ ของสมาชิกชุมชนที่ได้เข้ามามีส่วนร่วม ผลในระดับกลุ่ม การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารต่างๆ และการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระหว่างบุคคลที่เกี่ยวข้อง ผลในระดับชุมชน เกิดการเปิดพื้นที่ในการนำเสนอเรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับชุมชน และการพัฒนาระบบสื่อที่ตอบสนองความต้องการของชุมชน
ข้อควรคำนึงในการพัฒนากระบวนการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมในงานพัฒนาชุมชน ด้านเทคโนโลยี ด้านการเข้าถึงสื่อ ด้านสาร ด้านการบริหารจัดการ ด้านนโยบาย ด้านงบประมาณ