Developmental Surveillance & Promotion Manual (DSPM)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการติดตาม ดูแลพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนตามกระบวนการยุติธรรม เชิงสมานฉันท์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ผู้วิจัย กนกวรรณ ตั้งจิตบำรุง หลักสูตร.
สภาพและความต้องการของเด็กสถานพินิจเด็กและเยาวชนชาย:ศึกษากรณีบ้านมุทิตา
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
Performance Agreement : PA ปี 2560
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การจัดทำหลักสูตรส่งเสริมและพัฒนาเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปีและผลการใช้หลักสูตรฯ ประจำปี 2559.
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การติดตาม (Monitoring)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ช่วยคุณครูเตรียมรับมือ เด็กวัยรุ่นยุคใหม่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Developmental Surveillance & Promotion Manual (DSPM) คู่มือเฝ้าระวัง คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย สำหรับพ่อแม่ผู้ปกครองและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในคลีนิคเด็กสุขภาพดี Well Child Clinic ทุกระดับ จัดทำโดย กระทรวงสาธารณสุข โดยความร่วมมือของ กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต กรมการแพทย์ และสำนักงาน ปลัดกระทรวง สาธารณสุข 16/04/60 แพทย์หญิงนิตยา คชภักดี

ความท้าทายของพัฒนาการเด็กไทย พ.ศ. 2553 กรมอนามัยสำรวจเด็กอายุ 3-5 ปี เด็กไทยมีพัฒนาการต่ำกว่ามาตรฐาน 30 % พ.ศ. 2554 กรมสุขภาพจิตสำรวจเด็กอายุ 6-14 ปี เด็กไทยมี IQ 98.5 ต่ำกว่ามาตรฐาน 100 EQ 45 ต่ำกว่ามาตรฐาน 50-100 พ.ศ. 2556 กระทรวงศึกษาธิการรายงานเด็ก ป.4 – ป.6 10-15 % อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ คิดไม่เป็น

ความท้าทายของปัญหาพัฒนาการล่าช้า เด็กปฐมวัย (0-5 ปี) มีพัฒนาการไม่สมวัยในช่วงอายุ 0-2 ปี น้อยกว่าในช่วงอายุ 3-5 ปี อย่างมีนัยสาคัญ (Language= 17.3% Vs 38.2% และ FM. = 8.1% Vs 15.2%) พนิต โล่เสถียรกิจ,2557 บทบาทและประสิทธิภาพของ อสมช. พัฒนาการ โดยเฉพาะการช่วยดูแลเด็กที่อยู่กับปู่ย่าตายาย

พัฒนาการรวมสมวัยจำแนกตามกลุ่มอายุ1-3 และ 4-5 ปี พ.ศ. 2550 Ref:N Voramongkol, DOH 16/04/60 5 4 กุมภาพันธ์ 2557 แพทย์หญิง นิตยา คชภักดี

กลุ่มเด็กเสี่ยง กลุ่มเด็กคลอดปกติ Birth Asphyxia ภาวะขาดออกซิเจนขณะคลอด Low Birth Weight ทารกแรกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม กลุ่มเด็กคลอดปกติ

ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เด็กปฐมวัยพัฒนาไม่เต็มศักยภาพ ครอบครัวยากจน แรงงานอพยพ เด็กที่ไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ ปัญหาสุขภาพ ภาวะแทรกซ้อนในครรภ์ แรกเกิด อุบัติเหตุและสารพิษ ตะกั่ว ในเด็กที่อยู่ในเขตโรงงาน ภาวะทุพโภชนาการ น้ำหนักแรกคลอดน้อย ขาดไอโอดีน เลือดจางจากการขาดธาตุเหล็ก ครอบครัวและสภาพแวดล้อมเครียดรุนแรงเรื้อรัง เด็กที่ถูกละเลย ทอดทิ้ง อยู่ในพื้นที่ภัยพิบัติหรือเหตุการณ์ไม่สงบ มีการสู้รับหรือความรุนแรง

ผลการเปรียบเทียบ การเฝ้าระวังพัฒนาการเด็ก ด้วยเครื่องมือ DSPM และ Denver II ความไวของแบบแบบทดสอบ DSPM (Sensitivity) 96.04 % ความจำเพาะของแบบแบบทดสอบDSPM (Specificity) 64.67 %

แพทย์หญิงนิตยา คชภักดี แบบประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย DSPM ประกอบด้วยวิธีประเมินสองส่วนและวิธีส่งเสริม 1. เฝ้าระวังพัฒนาการ Developmental Surveillance ติดตามสังเกต ทดสอบพฤติกรรมพัฒนาการตามวัย Developmental milestones ช่วงอายุตามระยะตรวจสุขภาพ 2. ประเมินพัฒนาการแบบคัดกรอง Developmental screening ทดสอบพฤติกรรม พัฒนาการที่ละเอียดขึ้นสำหรับเด็กปฐมวัยทั่วไปเพื่อค้นหากรณีที่อาจจะก้าวหน้าช้า ช่วงอายุ 9, 18, 30 และ42 เดือน 3. วิธีส่งเสริมพัฒนาการในแต่ละพฤติกรรม ครบทุกด้าน 16/04/60 แพทย์หญิงนิตยา คชภักดี

คู่มือการเฝ้าระวัง คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย แรกเกิด- ๖ปี 16/04/60 แพทย์หญิงนิตยา คชภักดี

แพทย์หญิงนิตยา คชภักดี 16/04/60 แพทย์หญิงนิตยา คชภักดี

แพทย์หญิงนิตยา คชภักดี ประโยชน์ เพิ่มพลังให้พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูใช้วิธีการอบรมเลี้ยงดูที่ สร้าง เสริมพัฒนาการเด็กช่วงปฐมวัย สร้างความผูกพันต่อกัน (Secure attachment) ดูแลเอาใจใส่ใกล้ชิด ใช้เวลาคุณภาพ สื่อสารกับเด็ก พูดคุย ทำกิจกรรมร่วมกัน เน้นความสามารถของเด็ก (Competency) รับรู้ ทำ ตามระดับ สร้างการควบคุมจากภายใน (Inner locus of control) สร้างวินัยเชิงบวก ใช้เหตุผล ทำตัวเป็นแบบอย่าง มีคุณธรรม ปรับวิธี ประสบการณ์การเรียนรู้ให้น่าสนใจและปลอดภัย เหมาะกับระดับพัฒนาการและลักษณะของเด็ก (Developmentally Appropriate Practice) รู้จักเด็ก ติดตามสังเกตพฤติกรรม 16/04/60 แพทย์หญิงนิตยา คชภักดี

นิยาม สมวัย หมายถึง มีผลการประเมินพัฒนาการครบทุกด้าน ไม่สมวัย หมายถึง มีอย่างน้อย 1 ด้านที่ไม่สมวัย ก้าวหน้า หมายถึง เคยไม่สมวัย แล้วทำการประเมินรอบใหม่แล้วมีอย่างน้อย 1 ด้าน ที่สมวัย. แต่ไม่ได้สมวัยครบทุกด้านที่เคยไม่สมวัย รอการประเมิน หมายถึง เด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัยในครั้งแรกแล้วรอการประเมินในครั้งที่ 2

ส่งต่อ

แผนการให้บริการตั้งแต่ 1 เม.ย.58 กลุ่มปกติ –> เล่มขาว (DSPM) หลังคลอด ก่อนออกจาก รพ. • เจ้าหน้าที่ ตรวจพัฒนาการ ช่วงอายุ 9, 18 ,30 และ 42 เดือน(Screening) ในคลินิก WCC ทุกระดับ • อสม. ผู้ปกครอง ตรวจพัฒนาการ ช่วงอายุ 2, 4, 6, 8, 12,15, 17, 24, 29, 36, 41, 48, 54, 56 และ 42 เดือน (Surveillance)

เป้าหมายการปฏิบัติ เด็กที่เกิดตั้งแต่เดือนเมษายน 2558 ทุกคนได้รับการเฝ้าระวังและติดตามพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง โดย พ่อแม่ ผู้ดูแลเด็ก และ อสมช. จนท.สธ.ที่รพ.สต. สามารถคัดกรอง ส่งเสริมพัฒนาการ และส่งต่อ บูรณาการงานส่งเสริมพัฒนาการให้เป็นระบบเดียวกันทั่วประเทศ

http://www.thaichilddevelopment.com