อบรมปฏิบัติการวินัยทางการเงิน เชิงเศรษฐศาสตร์ “รู้จักใช้ เข้าใจเงิน”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Advertisements

สิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กับการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
“กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ”
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ประเทศไทยกับเศรษฐกิจ พอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง มุ่งเน้นให้ผู้ผลิต หรือผู้บริโภค พยายามเริ่มต้นผลิต หรือบริโภคภายใต้ขอบเขต ข้อจำกัด ของรายได้ หรือทรัพยากรที่มีอยู่ไป.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
บทที่ 1 ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับระบบคุณภาพ
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ดร. มานะ นิมิตรมงคล เลขาธิการ องค์กรต่อต้านคอร์รัปชันฯ 8 พฤษภาคม 2558
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
วิชาโครงการ รหัส & ระดับ ปวช. และ ปวส.
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
โดย.....นายมานะ ครุธาโรจน์ ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลมณีราษฎร์คณาลัย ตามโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล ในสถานศึกษา “ป้องกันการทุจริต”
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
บทเรียนโปรแกรมเพื่อการทบทวน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระดับความเสี่ยง (QQR)
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
3P กับการพัฒนาคุณภาพ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ระบบเศรษฐกิจ.
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
ผู้จัดการเกษตรแปลงใหญ่
“ปฏิบัติการสู่ชำนาญการ”
ฝ่ายการดำเนินงานในโรงแรม
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
SMS News Distribute Service
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
การเขียนโฆษณา.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
Supply Chain Management
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อบรมปฏิบัติการวินัยทางการเงิน เชิงเศรษฐศาสตร์ “รู้จักใช้ เข้าใจเงิน” อบรมปฏิบัติการวินัยทางการเงิน เชิงเศรษฐศาสตร์ “รู้จักใช้ เข้าใจเงิน” คณะทีมงานวิทยากรฐานที่ 1 (อ.สุวภัทร อ.จันทร์สว่าง อ.ศรีไพร และ อ.อัจฉรา) ที่มา : วรากรณ์ สามโกเศศ. (2549). รู้จักใช้ เข้าใจเงิน. กรุงเทพฯ : ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน).

แนวคิดเชิงเศรษฐศาสตร์/คำจำกัดความ เศรษฐศาสตร์เป็นการเรียนเกี่ยวกับการตัดสินใจเลือกวิธีการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างขาดแคลนให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทรัพยากร ไม่ได้หมายถึงเฉพาะทรัพยากรธรรมชาติ แต่ หมายถึง สิ่งที่มี เราจะต้องใช้เพื่อตอบสนองจุดประสงค์ของเราให้ได้นานที่สุด การตัดสินใจจะเลือกใช้ทรัพยากรด้วยวิธีใดจึงต้องมีการเปรียบเทียบ/วิเคราะห์อย่างสมเหตุสมผล

แนวทางการจัดการเรียนการสอน 1. ฝึกให้ผู้เรียนวิเคราะห์ แยกแยะสินค้า/บริการ ตอบสนองประโยชน์ คาดหวังหรือไม่ 2. ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือก - โฆษณา/เลียนแบบผู้ใหญ่ - การลดราคา/ทำตามศิลปิน 3. การบันทึกรายรับ-รายจ่ายของตนเอง/ฝึกวิเคราะห์ 4. ฝึกการเขียนถึงเป้าหมายที่ต้องการ 5. สภาวะกระบวนการออมเงินเพื่อไปถึงเป้าหมายที่ต้องการ

หน้าที่ของเงิน 1. เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (Medium of Exchange) 2. เป็นหน่วยนับ (Unit of Account) 3. รักษามูลค่า (Store of Vale) 4. การใช้สกุลเงินแตกต่างกันของแต่ละประเทศ แต่สามารถแลกเปลี่ยนกันได้ตามมูลค่าของเงินแต่ละสกุลเงิน ซึ่งมีมูลค่าไม่เท่ากัน

เงินกับความต้องการและความจำเป็น (Want vs Need) ความต้องการ (Want) เป็นกระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค ผู้บริโภคมีทรัพยากร (เงิน) จำกัด ไม่สามารถตอบสนองความต้องการได้ (สามารถรอเวลาได้) ความจำเป็น (Need) เป็นความจำเป็นเร่งด่วนหากไม่ได้หรือไม่บริโภคแล้วเกิดความเสียหาย เช่น อาหาร

การใช้เงิน/ความจำเป็น/ความต้องการ 1. หลักความจำเป็น 2. หลักการมีประโยชน์ 3. หลักความประหยัดสัมพันธ์กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

สิทธิของผู้บริโภค 1. สิทธิในการเปลี่ยนสินค้าใหม่ (คุณภาพ/มาตรฐาน) ไม่เป็นที่กำหนด 2. สิทธิในการได้รับค่าชดเชย (กรณี เสียหาย/อยู่ระยะประกัน) 3. สิทธิในการรับรู้ข่าวสารที่ถูกต้องเกี่ยวกับตัวสินค้าควบคู่กับหน้าที่ของผู้บริโภค 4. สิทธิในการเลือกอย่างมีเหตุผล 5. สิทธิในการตรวจสอบการรับประกัน

หน่วยงานที่ทำหน้าที่รักษาสิทธิของผู้บริโภค 1. สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) 2. มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค

รู้จักใช้ เข้าใจเงิน เงินเป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมายของชีวิต เงินเป็นเป้าหมายของคนจำนวนมาก เงินเหมือนแก้วสารพัดนึกบันดาลให้ได้รับสิ่งต่างๆสมปรารถนา เงินจึงเป็นสิ่งที่มาคุณค่า/ใช้จ่ายอย่างรอบคอบ ได้รับประโยชน์สูงสุด

จุดเน้นวินัยทางการเงินของบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพ เน้นความสำคัญของการทำงาน/การรับและการให้ ความรู้เรื่องเงินเป็นสิ่งสำคัญ สามารถบริหารจัดการเงินของแต่ละบุคคลไปตามขั้นตอนที่เหมาะสม สามารถพัฒนาทักษะความรู้ด้านการวางแผนการเงิน การรู้จักใช้เงินอย่างมีคุณค่า การดำรงชีวิตอย่างมีแบบแผน มีทัศนคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเงิน (การออม/การลงทุน) ตามแนวพระราชดำริในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง

ชีวิต ความสุข และเงิน ผู้คนจำนวนไม่น้อยพบว่า... ชีวิต ความสุข และเงิน ผู้คนส่วนมากมีความเข้าใจว่า ความสุขเกิดจากเงิน ยิ่งมีเงินมากก็มีความสุขมาก ผู้คนจำนวนไม่น้อยพบว่า... ความสุขมิได้เพิ่ม ตามจำนวนเงิน แต่...เงินทำให้ชีวิตอยู่รอด ไม่ใช่สิ่งสำคัญที่สุด

เงิน เงิน เงิน มีหน้าที่เป็นเพียงตัวกลางหรือสะพานไปสู่ความสุขเหล่านั้น เงิน...จึงไม่ใช่ตัวความสุข ดังนั้น เงินจึงไม่ใช่เป้าหมายของชีวิต

ทัศนคติเกี่ยวกับเงิน ศัตรู เงิน นาย มิตร ทาส

นาย ทาส มิตร ศัตรู หากเรายอมให้เงินเป็นนาย ชีวิตอับเฉา/ลืมจริยธรรม ทำทุกอย่างเพื่อเงิน หากเรายอมให้เงินเป็นทาส เราคือคนเยี่ยมยอด (มีวินัยทางการเงิน) หากเรายอมให้เงินเป็นมิตร เงินเราจะเพิ่มพูนจากการลงทุน การออม/การวางแผน หากเรายอมให้เงินเป็นศัตรู กู้ทุกอย่างที่ขวางหน้าจะมีดอกเบี้ยทิ่มแทงทั้งหลับ-ตื่น

เงิน ทอง น้อง พี่ หนี้ ทุกข์ ชีวิตต้องกู้ ดำรงอยู่ด้วยการเป็นหนี้ ดอกเบี้ยจากการกู้จะทิ่มแทงเราทั้งหลับและตื่น มีเงิน คือ น้อง มีทอง คือ พี่ มีหนี้ คือ ทุกข์

การรู้จักใช้ เข้าใจเงินที่ดี ถูกต้อง การใช้เงินแต่ละครั้งนั้นทำให้เกิดความพอใจไม่เท่ากัน การใช้จ่ายเงินอย่างสมเหตุสมผลคือการใช้เงินอย่างเกิดประโยชน์

ใช้เงินอย่างคุ้มค่าสมเหตุสมผล จะแน่ใจอย่างไรว่า ใช้เงินอย่างคุ้มค่าสมเหตุสมผล พิจารณาโดยการประเมินก่อนว่ามีประโยชน์มาก/น้อย พิจารณาราคาก่อนสามารถจ่ายได้/ไม่ได้ จึงตัดสินใจซื้อ/ไม่ซื้อ สิ่งสำคัญที่สุดในการเข้าใจและรู้จักใช้เงินอย่างคุ้มค่าคือ “รู้จักตนเองและมีสติ”

ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเงินสัมพันธ์กับมาตรฐานและตัวชี้วัด ระดับชั้น ตัวชี้วัด หมายเหตุ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ส.๓.๑/๑ ส.๓.๑/๓ ส.๓.๑/๒ ส.๓.๒/๑ ประถมศึกษาปีที่ ๒ ประถมศึกษาปีที่ ๓ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ส.๓.๒/๒ ประถมศึกษาปีที่ ๕ ประถมศึกษาปีที่ ๖

สวัสดีค่ะ