อาจารย์ ดร.ศุภะลักษณ์ ฟักคำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รูปแบบการวิจัย Research Design
Advertisements

ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน ในช่วงเทศกาลสงกรานต์
การพัฒนา งานวิจัย สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ 2551.
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโครงร่างวิจัย
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
หลักการ เบื้องต้น ของการใช้สถิติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
ประเภทของการวิจัย. แบ่งตามวัตถุประสงค์ ของการศึกษา การวิจัยเพื่อสำรวจ (Exploratory Research) การวิจัยเพื่อพรรณนา (Descriptive Research) การวิจัยเพื่ออธิบาย.
ปัตตานี นายวิจิตร จำปาสกุล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การวัด Measurement.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี อนันต์ สิทธิวัฒนานนท์
การต่อเวลาราชการ 65 ปี สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น งานบริหารงานบุคคล กองการ เจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้น พื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปี การศึกษา ๒๕๕๗ การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้น พื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน.
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
หน่วยรับตรวจส่วนงานย่อย สพฐ. สพป. / สพม. โรงเรียน สำนัก กลุ่ม / หน่วย กลุ่ม / งาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหน่วยรับตรวจ และส่วนงานย่อย.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547
โดย ผศ.ดร.สำราญ กำจัดภัย การจัดประเภทของการวิจัย
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
ประเภทของการวิจัย อาจารย์พุทธิวัฒน์ ไวยวุฒิธนาภูมิ
Seminar 1-3.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประเภทที่ ๑ วิจัยในชั้นเรียน.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การวิจัยเพื่อพัฒนา การเรียนการสอน
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
“ปฏิบัติการสู่ชำนาญการ”
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
การขอรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 26
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
เทคนิคการตั้งชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์
รูปแบบการศึกษา ทางระบาดวิทยา
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
อ. อิสรี ไพเราะ (อ.ต๊ะ) MB
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
แนวข้อสอบกลางภาคเรียนที่ ๑ / ๒๕๖๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
บทที่ 10 วงจรรายได้.
Google Scholar คืออะไร
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์ ดร.ศุภะลักษณ์ ฟักคำ รูปแบบการวิจัย อาจารย์ ดร.ศุภะลักษณ์ ฟักคำ

รูปแบบการวิจัย ตัวแปร (Variables) กลุ่มควบคุม (Control Group) การจำแนกรูปแบบการวิจัย แนวทางการออกแบบการวิจัย การเลือกรูปแบบการวิจัย

ตัวแปร (Variables) คือ คุณลักษณะที่ผู้วิจัยสนใจจะศึกษา ในรูปที่มองเห็นได้ง่าย น้ำหนัก ส่วนสูง ความดันโลหิต ฯลฯ ในรูปที่มองเห็นได้ยาก สภาพสุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิต ความเจ็บปวด ความกังวลใจ

ตัวแปรหรือความสัมพันธ์ของตัวแปร ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ตัวแปรตาม (Dependent Variables)

( Independent Variables ) ตัวแปรตาม ( Dependent Variables ) เป็นต้นเหตุ หรือปัจจัยเสี่ยง เป็นต้นกำหนด มีอิทธิพล ตัวแปรอิสระ ( Independent Variables ) ตัวแปรตาม ( Dependent Variables )

กลุ่มควบคุม ( Control Group) กลุ่มควบคุม (Control Group) หรือ กลุ่มเปรียบเทียบ (Comparison Group)

การจำแนกรูปแบบการวิจัย การจำแนกตามเป้าหมายหรือผล (1) การวิจัยพื้นฐาน (Basic Research) (2) การวิจัยประยุกต์ (Applied Research)

การจำแนกรูปแบบการวิจัย จำแนกตามลักษณะสิ่งที่ทำการศึกษา (1) การวิจัยวารสารหรือเอกสาร (Documentary Research) (2) การวิจัยทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Research) (3) การวิจัยในสัตว์ทดลอง (Animal Research) (4) การวิจัยทางคลินิก (Clinical Research) (5) การวิจัยชุมชน (Community Research) (6) การวิจัยปฏิบัติการ (Operational Research) (7) การวิจัยบริการสาธารณสุข (Health Service Research)

การจำแนกรูปแบบการวิจัย จำแนกตามลำดับเวลา (1) การวิจัยย้อยหลัง (Retrospective Research) (2) การวิจัยไปข้างหน้า (Prospective Research)

การจำแนกรูปแบบการวิจัย จำแนกตามวิธีดำเนินการวิจัย (1) การวิจัยโดยการสังเกต (Observational Research) - การวิจัยโดยการสังเกตเชิงพรรณนา (Descriptive Research) - การวิจัยโดยการสังเกตเชิงวิเคราะห์ (Analytical Research) (2) การวิจัยโดยการทดลอง (Experimental Research)

รูปแบบการวิจัย การวิจัยโดยการทดลอง (Experimental Research) มีการกำหนดปัจจัยเสี่ยง หรือสิ่งแทรกแซง การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Study) รูปแบบการวิจัย ไม่มีกลุ่มเปรียบเทียบ การวิจัยโดยการสังเกต (Observational Research) ไม่มีการกำหนดปัจจัยเสี่ยง หรือสิ่งแทรกแซง การวิจัยเชิงวิเคราะห์ (Analytical Study) มีกลุ่มเปรียบเทียบ

การวิจัยเชิงวิเคราะห์ (Analytical Study) ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง (Cross-sectional) การวิจัยเชิงวิเคราะห์ (Analytical Study) ชนิดไปข้างหน้า (Cohort or prospective) ชนิดย้อนหลัง (Case-control or Retrospective)

กิจกรรม(ใบงาน) ส่ง วันที่ 10 กันยายน 2557 เวลา 14.30 น. ให้ นศ. ค้นคว้าหาข้อมูล จากหอสมุดแห่งชาติ หรือห้องสมุดมหาวิทยาลัย เรื่อง การวิจัยเชิงปริมาณ จากหนังสือ 5 เล่ม (พร้อมอ้างอิง) การวิจัยเชิงคุณภาพ จากหนังสือ 5 เล่ม (พร้อมอ้างอิง) เขียนใส่กระดาษรายงาน ส่ง วันที่ 10 กันยายน 2557 เวลา 14.30 น. ณ ห้องพักอาจารย์ 1