Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization น. ส. ศันสนีย์ เนติโรจนกุล กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ด้วยชิป.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Advertisements

เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
Entity-Relationship Model E-R Model
การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
สรุปความก้าวหน้าโครงการ 3G กลุ่ม 2 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ล่วงหน้าเบสแบนด์ 28 พฤษภาคม G Research Project 3G Research Project Thai Wireless Consortium.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายเอกพล หิรัณยเอกภาพ และคณะ กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ SCORPion.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายลูกา เนตรเนรมิต, นายนิพนธ์ พิมพ์พืช และนายสัณห์ อุทยารัตน์ กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization SCORPion Research Group EE Department, Kasetsart University, Thailand 3G Research.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization Layer 1 Baseband Processor Implementation for 3GPP Systems SCORPion Research Group.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายลูกา เนตรเนรมิตร, นาย สัณห์ อุทยารัตน์ และนาย นิพนธ์ พิมพ์พืช กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization ความก้าวหน้าในการพัฒนาส่วนประมวลผล สัญญาณเบสแบนด์ ด้วยชิป DSP SCORPion Research.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization SCORPion Research Group EE Department, Kasetsart University, Thailand 3G Research.
นางเอื้อมพร วงศ์ สวัสดิ์กุล ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศ.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization ความก้าวหน้าในการพัฒนาส่วนประมวลผล สัญญาณเบสแบนด์ ด้วยชิป FPGA SCORPion Research.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization SCORPion Research Group EE Department, Kasetsart University, Thailand 3G Research.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายลูกา เนตรเนรมิต และ คณะ กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ SCORPion.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายลูกา เนตรเนรมิตร กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ SCORPion Research.
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
We Bring Networking to Your Life ™ S uperior CO mmunications R esearch and P rototyp i ng for c o mmercializatio n การประชุม SCORPion Research Group แนวทางในการทดสอบความถูกต้อง.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายเอกพล หิรัณย เอกภาพ และคณะ กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ SCORPion.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นาย ศิริชัย แซ่หว่อง นาย เอกพล หิรัณย เอกภาพ กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ด้วยชิป.
การรับส่งข้อมูลระหว่าง Group 2 กับ Group 3 ในสถานีเคลื่อนที่ (Mobile Station) 2 พฤษภาคม G Research Project 3G Research Project Thai Wireless Consortium.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายสัณห์ อุทยารัตน์ ส่วนประมวลผลสัญญาณดิจิตอล เบสแบนด์ด้วยชิป DSP SCORPion Research.
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
ระบบงานธุรการ (GA Center). นายวรากร หอมมณฑา รหัสนิสิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา ตำแหน่งงาน System Programmer.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
ข้อแนะนำการพัฒนาฐานข้อมูล Skill Mapping สถาบันศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยบูรพา 22 พฤษภาคม 2546.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
การจัดการโปรเซส T.Kunlaya Charoenmongkonvilai
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
BC320 Introduction to Computer Programming
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
หลักเทคนิคการเขียน SAR
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization น. ส. ศันสนีย์ เนติโรจนกุล กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ด้วยชิป DSP SCORPion Research Group EE Department, Kasetsart University, Thailand 3G Research Project Meeting July 18, 2003 NECTEC ความก้าวหน้าของการพัฒนาส่วนประมวลผลสัญญาณเบสแบนด์ ทางด้านสถานีเคลื่อนที่ด้วยชิป DSP (spreading&scrambling)

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization หัวข้อนำเสนอ  ขอบเขตของงานที่ต้องทำ  ภาพรวมการทำงานในส่วน spreading & scrambling  เทคนิคการสร้างรหัส OVSF  การสเปรดบิตข้อมูล  เทคนิคการสร้างรหัส scrambling  ประสิทธิภาพของบล็อกการทำงานต่างๆ  สรุปผล  แผนงานในอนาคต

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization  สร้างรหัส OVSF  สร้างรหัส scrambling  สร้าง PRACH preamble codes  สร้าง PCPCH preamble codes  spreader & Gain  scrambling  Timing สำหรับ preamble กับ message ( ปีที่ 2) ขอบเขตของงานที่ต้องทำ ทดสอบความถูกต้องแล้ว ทำแล้วกำลังทดสอบความถูกต้องอยู่

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization การทำงานในส่วน spreading & scrambling OVSF codes Scrambling codes Gain

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization เทคนิคการสร้างรหัส OVSF  ความยาวของรหัสจะเท่ากับค่าของ SF (4-256)

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization เทคนิคการสร้างรหัส OVSF(2)  ในการสร้างรหัสได้กำหนดให้ แทน 1 ด้วย 0 และ แทน - 1 ด้วย 1  เมื่อเจอบิตที่เป็น 1 ในหมายเลขของรหัส OVSF ( เลขฐานสอง ) ให้กลับบิตของชุดรหัสก่อนหน้าที่สร้างได้  ตัวอย่างการสร้างรหัส OVSF ที่มี SF = ค่าหมายเลขรหัส start ค่าเริ่มต้นของทุกหมายเลขรหัส รหัส OVSF

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization การสเปรดบิตข้อมูล  จะทำการสเปรดบิตข้อมูลที่มีอัตราบิตข้อมูลต่างๆ กันให้ มีอัตราข้อมูล 3.84 Mcps

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization การสเปรดบิตข้อมูล (2)  นำรหัส OVSF ไปแทนที่ข้อมูลแต่ละบิตโดยถ้าบิตข้อมูล เป็น 1 ( แทนด้วย 0) จะนำรหัส OVSF แทนที่ได้เลย แต่ ถ้าเป็น 0 ( แทนด้วย 1) จะต้องทำการกลับบิตรหัส OVSF ก่อนแล้วจึงนำไปแทนที่บิตนั้น  ตัวอย่างการสเปรดบิตข้อมูลเมื่อ SF = 8 และใช้รหัส OVSF หมายเลข 1 ( ) จุดเริ่มต้นของข้อมูล

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization เทคนิคการสร้างรหัส scrambling  โหลดหมายเลขรหัสที่ต้องการใส่ไว้ใน 24 บิตต่ำของรีจี สเตอร์ตัวที่ 1  โหลดค่า 1 ใส่ในบิตหน้าสุดของรีจีสเตอร์ตัวที่ 1 และใน ทุกบิตของรีจีสเตอร์ตัวที่ 2 Shift Register 1 Shift Register I Q C long,1,n C long,2,n

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization เทคนิคการสร้างรหัส scrambling(2)  x n (i+25) =x n (i+3) + x n (i) modulo 2, i=0, …, C long,1,n  y(i+25) = y(i+3)+y(i+2) +y(i+1) +y(i) modulo 2, i=0, …, C long,2,n  ในการสร้างรหัสได้กำหนดให้ แทน 1 ด้วย 0 และ แทน -1 ด้วย 1  ใช้ XOR แทนการบวกแบบ modulo 2 ในแต่ละบิต  i =0,1, …,38399, …,( ) ตัวอย่างวิธีการสร้างรหัส Scrambling C long,2,n

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization ประสิทธิภาพของบล็อกการ ทำงานต่างๆ CPU utilization OVSF code0.046 MHz Long scrambling code 2.4 MHz Short scrambling code 3.09 MHz

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization ประสิทธิภาพของบล็อกการ ทำงานต่างๆ (2) sprea der & gain Non- optimized CPU utilization (MHz) Optimized CPU utilization (MHz) % improvem ent SF = SF = SF = SF = SF = SF = SF =

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization ประสิทธิภาพของบล็อกการ ทำงานต่างๆ (3)  จากตารางประสิทธิภาพของ spreader & gain จะเห็นว่า ค่า CPU utilization ของอัลกอริทึมซึ่งทำการ optimized แล้วที่ SF เท่ากับ 4 และ 8 จะมีค่าที่ดีขึ้นมาก  เนื่องจากที่ SF เท่ากับ 4 จะมีจำนวนบิตที่เข้ามา 640 (32*20) บิตต่อสล๊อตและที่ SF เท่ากับ 8 จะ มีจำนวนบิตที่เข้ามา 320 (32*10) บิตต่อสล๊อต ซึ่งสังเกตได้ว่าจำนวนรีจิสเตอร์ที่ใช้เก็บค่าบิตที่ เข้ามาในบล็อกสามารถแบ่งครึ่งได้ลงตัวทำให้ สามารถนำมาประมวลผลพร้อมกันได้ทีละสองตัว พร้อมๆ กันจึงทำให้ประสิทธิภาพในการสเปรดบิต ข้อมูลดีขึ้น

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization สรุปผล  ได้พัฒนาส่วนการสร้างรหัส OVSF, รหัส scrambling และการสเปรดบิตข้อมูลเสร็จเรียบร้อยแล้วคิดเป็น ประมาณ 60% ถึง 70% ของขอบเขตงานในปีที่ 1  การทำงานในบางบล็อกมีความซ้ำซ้อนทำให้ สามารถปรับปรุงสมรรถนะได้ เช่น บล็อกสเปรด บิตข้อมูล

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization แผนงานในอนาคต  ตรวจสอบความถูกต้อง PRACH และ PCPCH preamble codes  พัฒนาโปรแกรมส่วน scrambling