Finite-state Automata

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Review : เซตของ states ( สถานะ ) : เซตของ Input alphabets/symbols ( อักษร / สัญลักษณ์ รับเข้า ) : Initial state ( สถานะเริ่มต้น ) : เซตของ Final states.
Advertisements

เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
System Requirement Collection (2)
เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 บทที่ 6 คำสั่งแก้ไขปัญหาแบบ เลือก (CONDITION)
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
Information and Communication Technology Lab2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
คำสั่ง : TIMER และ TIMH (FUN15)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
Pushdown Automata : PDA
ไฟไนต์ออโตมาตาที่คาดเดาไม่ได้ (Non-deterministic Finite Automata)
การออกแบบออโตมาตาจำกัดเชิงกำหนด ( DFA )
บทที่ 3 (ต่อ) ไวยากรณ์เรกูลาร์.
บทที่ 4 ลงมือพัฒนา โครงงานคอมพิวเตอร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การสอบประเมินความสามารถทางภาษาอังกฤษ
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
Material requirements planning (MRP) systems
การจัดการโปรเซส T.Kunlaya Charoenmongkonvilai
ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
Information and Communication Technology Lab2
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
BC320 Introduction to Computer Programming
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การเสริมไวตามิน อี ในสูตรอาหารสุกร
Android Programming Getting Start Prawit Pimpisan Computer Science
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
Project Project (โครงงาน) ปริญญานิพนธ์ กิจกรรมซึ่งดำเนินงานตามลำดับ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
กลุ่มหลักสูตร กลุ่มหลักสูตรที่ 1 : พัฒนาความรู้
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
โครงการจัดทำระบบจัดเก็บข้อมูลการใช้งาน และประเมินคุณภาพอุปกรณ์ไฟฟ้า
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
State Table ตารางสถานะ ปรับปรุง 18 เมษายน 2562
Week 5 C Programming.
สแกนเนอร์ (Scanner) สแกนเนอร์ คืออุปกรณ์จับภาพและเปลี่ยนแปลงรูปแบบของแอนาลอกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได้
SMS News Distribute Service
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Introducing Business Process Management (BPM) III
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
เมนูหลัก ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Finite-state Automata บทที่ 2 ออโตมาตาจำกัดสถานะ Finite-state Automata

Introduction การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในยุคปัจจุบัน ล้วนมีรากฐานมาจาก ทฤษฎีการคำนวณ ทฤษฎีการคำนวณ จะใช้เป็นแนวคิด เพื่อต่อยอดเทคโนโลยีให้ก้าวหน้าขึ้นไปอย่างไร้ขีดจำกัด ทฤษฎีการคำนวณ เป็นศาสตร์ที่มีลักษณะคล้ายกับการแก้ปริศนา การศึกษาเรื่องนี้จะทำให้ ความคิด สมอง มีการพัฒนาอย่างมาก

Introduction ทฤษฎีการคำนวณ เป็นหลักการที่ใช้ในการตรวจสอบภาษาว่าตรงกับหลักหรือไม่ เช่น ในระบบ Complier Source code  Complier  Program

Automata Automata เป็นแบบจำลองที่ใช้ในการศึกษา การทำงานของคอมพิวเตอร์ในยุคดิจิตอล

Automata Finite automata (ไฟไนต์ออโตมาตา) Finite  จำกัด ในทางคอมพิวเตอร์ จำกัด อาจสื่อถึง หน่วยความจำ Automata คือ แบบจำลองการทำงาน หน่วยความจำ มีหน้าที่เก็บสถานะของ Automata ถ้าหน่วยความจำมีจำกัด Automata ก็จะมีการทำงานที่จำกัดด้วย

Automata Finite automata (ไฟไนต์ออโตมาตา) Finite  จำกัด ในทางคอมพิวเตอร์ จำกัด อาจสื่อถึง หน่วยความจำ Automata คือ แบบจำลองการทำงาน หน่วยความจำ มีหน้าที่เก็บสถานะของ Automata ถ้าหน่วยความจำมีจำกัด Automata ก็จะมีการทำงานที่จำกัดด้วย

Finite Automata **ใช้ตรวจสอบความถูกต้องของภาษา Finite automata b Finite automata ใช่ / ไม่ใช่ **automata จะอ่านข้อมูลมาทีละตัวและตรวจสอบดูว่ามันถูกต้อง หรือยอมรับหรือไม่

Deterministic FA (DFA) เชิงไม่กำหนด Non-deterministic FA (NFA) เชิงกำหนด Deterministic FA (DFA) เชิงไม่กำหนด Non-deterministic FA (NFA) ออโตมาตาจำกัดสถานะ Finite-state Automata เปลี่ยนสถานะด้วยอักขระว่าง FA with -Transition พร้อมด้วยข้อมูลออก FA with Output

ออโตมาตาจำกัดสถานะเชิงกำหนด (Deterministic Finite Automata) DFA

00/0 11/1 01/1 11/0 10/0 Q0 Q1 10/1 01/0 00/1 100101 + 101110

L State Transition Diagram แผนผังการเปลี่ยนสถานะ State Initial State Final State symbol State control direction L Language

ออโตมาตาจำกัดสถานะเชิงกำหนด Deterministic Finite-state Automata (DFA) : เซตของ states (สถานะ) : เซตของ Input alphabets/symbols (อักษร/สัญลักษณ์ รับเข้า) : Initial state (สถานะเริ่มต้น) : เซตของ Final states (สถานะสิ้นสุด) : ฟังก์ชั่น (State) Transition (การเปลี่ยน[สถานะ])

Set of States (Q) 1

Input Alphabet 1

Initial State 1 1 1 1 1 1 1

Final state (F) 1 1 1 1 1 1 1

1 1 1 1 1 1 1 1 1 ตัวอย่างการทำงานของ State diagram Input Tap End of String 1 DFA เครื่องนี้ ยอมรับ (Accept) 1100 หรือ DFA เครื่องนี้ จำ (Recognize) 1100 ได้ 1 1 1 1 1 1 1

DFA เครื่องนี้ ปฏิเสธ (Reject) 0011 ตัวอย่างการทำงานของ State diagram Input Tap 1 End of String 1 1 1 DFA เครื่องนี้ ปฏิเสธ (Reject) 0011 1 1 1 1 1

C C A A B B b a b b a ตัวอย่างการทำงานของ State diagram 2 Input Tap b End of String b a b , DFA เครื่องนี้ ยอมรับ (Accept) abbab หรือ DFA เครื่องนี้ จำ (Recognize) abbab ได้ a a , b b a , b C C A A B B

DFA เครื่องนี้ ปฏิเสธ (Reject) aaab ตัวอย่างการทำงานของ State diagram 2 Input Tap a b End of String a a b , DFA เครื่องนี้ ปฏิเสธ (Reject) aaab b a a , b a a , b C C A A B B

Transition functions 1 1 1 1 1 1 1

Transition table States (Q) 1