Measles Elimination, Thailand Bureau of Epidemiology, DDC Bureau of General Communicable Diseases, DDC National Institute of Health, DMSc Bureau of Practical.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Measles Elimination, Thailand
Advertisements

Measles Elimination Bureau of Epidemiology, DDC
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี 2556
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา ธันวาคม 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
วันที่ 26 มกราคม 2556 เวลา น. งานระบาดวิทยาอำเภอท่าอุเทน ได้รับแจ้งจากงานห้องอุบัติเหตุและ ฉุกเฉิน โรงพยาบาลท่าอุเทน มีนักเรียน โรงเรียนแห่งหนึ่ง.
สอบสวนการระบาดโรคไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (H1N1/2009) ตำบล A อำเภอเมืองยโสธร จังหวัด ยโสธร กุมภาพันธ์ 2558.
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา เมษายน 2558 กลุ่มงานควบคุมโรค.
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
เป็น Novel Coronavirus พบครั้งแรก เม. ย ที่ซาอุดิอา ราเบีย กระจายไป 25 ประเทศ ส่วนใหญ่ตะวันออกกลาง ณ. 1 มิ. ย. 58 พบผู้ป่วยยืนยัน 1,154 ราย เสียชีวิต.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
Goal: people are healthy & safety from Tuberculosis In Chiang Mai.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
สถานการณ์ ไข้เลือดออก อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2560
โรคไข้เลือดออกเขต 12.
การดำเนินงานควบคุมวัณโรค จังหวัดพิจิตร ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 – 26 มีนาคม /01/62.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization)
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การปรับเปลี่ยน การใช้วัคซีนโปลิโอ
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ระบบเฝ้าระวัง 5 ระบบ 5 มิติ ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
Scinario 2.
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
Measles Situation, Thailand 2011 – May 2012
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Measles Elimination, Thailand Bureau of Epidemiology, DDC Bureau of General Communicable Diseases, DDC National Institute of Health, DMSc Bureau of Practical Development, DMS

โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ เป้าหมาย  ลดอุบัติการณ์ของโรคหัดในประเทศไทยให้ เหลือไม่เกิน  5 รายต่อประชากรหนึ่งล้านคนในปี 2558  1 รายต่อประชากรหนึ่งล้านในปี 2563

Measles elimination: WHO definition การไม่พบผู้ป่วยโรคหัดที่ติดเชื้อ ภายในประเทศ (Endemic measles case) ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน 12 เดือนขึ้นไป ภายใต้ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ

ความสำคัญของการเฝ้าระวังโรคหัด เป็นเครื่องมือหนึ่งเพื่อนำไปสู่กำจัดโรคหัด ติดตามสถานการณ์โรค บ่งชี้ประชากรกลุ่มเสี่ยง ตรวจจับการระบาดและควบคุมโรคอย่างรวดเร็ว

ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ  มีรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัดไม่น้อยกว่า 2 ต่อประชากร แสนคน ระดับประเทศ  มีการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายภายใน 48 ชั่วโมง ไม่น้อย กว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยที่รายงานเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง  มีการตรวจ measles IgM ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของ ผู้ป่วยเฉพาะราย  มีการส่งตรวจ วิเคราะห์สายพันธุ์ไวรัสไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเหตุการณ์การระบาด

ระบบเฝ้าระวังโรคหัดของประเทศไทยในปัจจุบัน ระบบปกติ (รายงาน 506)โครงการกำจัดโรคหัด นิยามผู้ป่วยสงสัย ที่ต้องรายงาน ไข้สูง ไอ ผื่น + corynza / Conjuntivitis / Koplik’s spot หรือ แพทย์วินิจฉัย ไข้สูง ไอ ผื่น + corynza / conjuntivitis / Koplik’s spot หรือ แพทย์วินิจฉัย การรายงานผู้ป่วย ทันที - Severe, admitted, death - อายุน้อยกว่า 9 เดือน ทุกรายที่มา ร.พ. การสอบสวนโรค และการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ - Severe, Death, อายุน้อยกว่า 9 เดือน, cluster, รายแรก -สอบสวนเฉพาะรายทุกรายที่มา รพ. (Measles IgM ทุกราย) -สอบสวนเหตุการณ์การระบาด (Measles IgM 10 – 20 ราย + 5 Throat swab) ฐานข้อมูลR506: ข้อมูลทั่วไป, วันเริ่มป่วย, วันรับรักษา, ผลการรักษา ME เพิ่มตัวแปรประวัติวัคซีน, ประวัติสัมผัสโรค, ผล lab การรายงานและสอบสวนผู้ป่วยให้ได้ตามโครงการกำจัดโรคหัด ต้องไม่รอรายงานจาก ICD10!!!

นิยามผู้ป่วย 1. เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria) มีไข้ > 38 ํC และมีผื่นนูนแดงขึ้นขณะยังมีไข้พร้อม ทั้งมีอาการไอ (Cough) ร่วมกับอาการอื่นๆ อีกอย่าง น้อยหนึ่งอาการ ดังต่อไปนี้ มีน้ำมูก (Coryza) เยื่อบุตาแดง (Conjunctivitis) ตรวจพบ Koplik's spot 1-2 วันก่อนและหลังผื่นขึ้น

นิยามผู้ป่วย 2. เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Criteria) 2.1. Serology test - Measles IgM ให้ผลบวก 2.2. Viral isolation - เพาะเชื้อจากสารคัดหลั่งทางเดินหายใจ โดย Throat swab culture หรือ Nasal swab culture

ประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยสงสัย (Suspected case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทาง คลินิก หรือ แพทย์วินิจฉัยโรคหัด ผู้ป่วยเข้าข่าย (Probable case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ ทางคลินิก ร่วมกับมีข้อมูลทางระบาดวิทยาเชื่อมโยงกับผู้ป่วยยืนยัน ผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ ทางคลินิก และ มีผลบวกทางห้องปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง

นิยามผู้สัมผัสใกล้ชิด  ผู้สัมผัสร่วมบ้าน  ผู้ร่วมงาน หรือ ร่วมห้องเรียน ที่ต้องอยู่ในห้อง เดียวกันเป็นประจำ  ผู้ที่มีประวัติคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วย ในระยะ 7 วันก่อนวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย เช่น แฟน เพื่อน สนิท

การรายงานผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง เพื่อการกำจัดโรคหัด ให้รายงานตั้งแต่ผู้ป่วยสงสัย พร้อมทั้งเก็บ สิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ในผู้ป่วยสงสัยทุกรายที่มาโรงพยาบาล

ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายที่มา รพ. (1)

ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายที่มา รพ. (2)

การสอบสวนโรค การสอบสวนเหตุการณ์การระบาด (outbreak investigation) กรณีที่เกิดโรคเป็นกลุ่มก้อน ให้รีบทำการสอบสวนการระบาดทันทีโดย - ใช้แบบสอบสวนโรคเฉพาะราย (ME1 form) หรือทะเบียนผู้ป่วยในการ สอบสวนเหตุการณ์การระบาดของโรคหัด (ME2 form) - เก็บสิ่งส่งตรวจในผู้ป่วยสงสัย ได้แก่ Measles IgM ประมาณ 10 – 20 ตัวอย่าง ของผู้ป่วยสงสัยในเหตุการณ์ - สุ่มตัวอย่าง Throat / Nasal swab จำนวนไม่เกิน 5 ตัวอย่างเพื่อส่ง ตรวจ Genotype ของไวรัสโรคหัด ด้วยวิธี PCR เพื่อยืนยันเชื้อก่อโรคและสายพันธุ์ หาที่มาของการระบาดและควบคุมโรค

เกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคในพื้นที่ 1. มีผู้ป่วยสงสัยโรคหัดเป็นกลุ่มก้อน 2. เมื่อสอบสวนผู้ป่วย Index case แล้วพบว่าผู้สัมผัสใกล้ชิดมี อาการ ป่วยสงสัยโรคหัดร่วมด้วย 3. ผู้ป่วย Index case มีผลการตรวจ Measles IgM ให้ผลบวก 4. ผู้ป่วย Index case มาจากพื้นที่ที่ความครอบคลุมของวัคซีนต่ำ ได้แก่ - Measles หรือ MMR เข็มที่ 1 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กอายุ 1 ถึง 2 ปี (นับจากวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย index case) ในระดับตำบล - MMR เข็มที่ 2 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในโรงเรียน

ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนเหตุการณ์การระบาด (1)

ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนเหตุการณ์การระบาด (2)

แบบสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ME1 form)

แบบสอบสวนเหตุการณ์การระบาด(ME2 form)

ฐานข้อมูล online โครงการกำจัดโรคหัด

Measles Situation, Thailand 2011 – May 2012 Bureau of Epidemiology Ministry of Public Health

Reported Measles, 2011 – May 2012 R506* Measles Elimination Number% of R , % 2012 (to May) 2,7101, %

Number of reported measles by province, 2011 R506 (75 prov) Measles elimination (41 Prov) Number of cases Measles outbreak ปัตตานี นราธิวาส ต. ค. - ธ. ค. Rubella outbreak ปัตตานี ต. ค. Rubella outbreak ก. ย. – ต. ค. Measles outbreak ก. ย. – ต. ค. Measles outbreak จ. ลำปาง ก. ย. – ต. ค. Rubella outbreak น่าน พ. ค. Rubella outbreak ธ. ค. Measles outbreak Rubella outbreak สมุทรปราการ ก. พ

Number of reported measles by province, 2012 R506 (69 prov)Measles elimination (50 Prov) Number of cases Measles outbreak ก. พ. R/O Measles outbreak มิ. ย. Measles cluster เม. ย. Measles outbreak ม. ค.

Confirmed Measles outbreak, 2012 Measles outbreak ProvincePlaceAge (yr) Race onset%AR 1Chiang RaiSchool - Community0 - 12JanNA 2PetchaboonChicken slaughtering factory 18 – 25 Myanmar Feb1.8 3KanchanaburiPrison22 – 34, 40 Thai Feb0.9 4PhuketForeign tourist (Europe) AdultApr 4 ราย 5 Chiang Mai (R/O measles) School6 – 9 Thai June8

Confirmed Measles outbreak, 2013 Measles outbreak ProvincePlaceAge (yr) Race onset%AR 1Rayong สถานพินิจ JanNA 2SakaeoFactory25 – 35Jan0.01 3Tak ชุมชนชาวม้ง Apr0.9 4Mahasarakamprison May Nakhonpathom May

cases by age group, 2013 Age group (yr)Number of cases (per 100,000 pop) R506Reported ME (Confirmed) (26.8) 60 (1.7) (12.0) 35 (1.0) (4.9) 37 (0.7) (5.3) 109 (1.1) (3.0) 66 (0.6) > (0.4) 6 (0.1) Total 2,643 (4.3) 132 (0.2)

สรุปสถานการณ์โรคหัด  ประเทศไทยยังมีการเกิดโรคหัดภายในประเทศอย่าง ต่อเนื่อง และมีการระบาดเป็นกลุ่มใหญ่ประปราย  ยังมีกลุ่มอายุที่ไม่มีภูมิคุ้มกัน ได้แก่ 20 – 30 ปี โดยเฉพาะ แรงงานต่างด้าว  ยังมีพื้นที่ที่ความครอบคลุมของวัคซีนต่ำ ทำให้เกิดการระบาด ในเด็ก  การพบโรคหัดในสัดส่วนที่สูงในกลุ่มเด็ก ทั้งจาก รายงาน 506 และ ME  Measles vaccine เข็มที่ 1 มีความครอบคลุมต่ำ / ภูมิคุ้มกัน ลดลง (พ.ศ มี 30 confirmed ที่ได้วัคซีนแล้ว 1 ครั้ง)

สรุปและข้อเสนอแนะต่อระบบเฝ้าระวัง  มีความพร้อมของการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ได้ มาตรฐานทั้ง NIH และ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์  ยังขาดการประสานข้อมูลระหว่าง SRRT กับงาน ควบคุมโรค  ควรมีการประเมินข้อมูลความครอบคลุมของวัคซีน  จังหวัดที่มีอัตราป่วยในเด็กสูง หรือ มีการระบาดใน โรงเรียน

Thank you for your attention