โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ระยอง นายสมชัย ฉายศรีศิริ นายปรพล เจริญพงษ์ นายสมหมาย เอี่ยมมงคลสกุล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
1 นางสรัลพัชร ประ โมทะกะ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายสุชาติ กิมาคม หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายกุลเกียรติ เทพมงคล หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพสธร.
1 นางสรัลพัชร ประ โมทะกะ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายสุชาติ กิมาคม หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายกุลเกียรติ เทพมงคล หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ.
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
ปัตตานี นายวิจิตร จำปาสกุล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
หน่วยรับตรวจส่วนงานย่อย สพฐ. สพป. / สพม. โรงเรียน สำนัก กลุ่ม / หน่วย กลุ่ม / งาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหน่วยรับตรวจ และส่วนงานย่อย.
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization)
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ลำปาง นายยรรยง พลสันติกุล สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ระบบงานรับสมัครนักเรียนใหม่ 61
การปรับเปลี่ยน การใช้วัคซีนโปลิโอ
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบและหัดเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 โครงการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

โครงการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

รายงานโรค ข้อมูลจากรายงาน 506 สำนักระบาดวิทยา ข้อมูล ณ วันที่ 18 พ.ย. 57 โรค 2557 2556 ป่วย ตาย จำนวน อัตรา คอตีบ 15 0.02 4 0.01 28 0.04 6 บาดทะยัก เด็กแรกเกิด 2 0.25 1 0.12 ไอกรน 11 24 หัด 1061 1.66 2,641 4.12 หัดเยอรมัน 142 0.22 539 0.84 ไข้สมองอักเสบเจอี 12 59 0.09 โปลิโอ

เป้าหมายการลดโรคปี 2558 ไม่พบผู้ป่วยโปลิโอ อัตราป่วยด้วยโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิดไม่เกิน 1 ต่อ 1,000 เด็กเกิดมีชีพ รายจังหวัด อัตราป่วยด้วยโรคหัด ไม่เกิน 3.5 ต่อประชากรแสนคน (2,250 ราย) อัตราป่วยด้วยโรคคอตีบไม่เกิน 0.015 ต่อประชากรแสนคน (10 ราย) อัตราป่วยด้วยโรคไอกรนไม่เกิน 0.08 ต่อประชากรแสนคน (50 ราย) อัตราป่วยด้วยโรคไข้สมองอักเสบเจอีไม่เกิน 0.15 ต่อประชากรแสนคน (90 ราย) อัตราการเป็นพาหะของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ไม่เกินร้อยละ 0.25

ตัวชี้วัดจุดเน้นการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ด้านโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่า 85) = ตัวชี้วัดกระทรวงฯ ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปีได้รับวัคซีน MMR ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 ทุกพื้นที่ ร้อยละของเด็กอายุ 2 ปี ได้รับวัคซีน ไข้สมองอักเสบเจอี ครบตามเกณฑ์ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ทุกพื้นที่ ร้อยละของเด็กอายุ 5 ปี ได้รับวัคซีน DTP ครบ 5 ครั้ง ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ทุกพื้นที่

มาตรการสำคัญ มาตรการที่ 1 : เร่งรัดและคงรักษาระดับความครอบคลุม การได้รับวัคซีนทุกชนิด มาตรการที่ 2 : ยกระดับคุณภาพการให้บริการวัคซีนและ การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค มาตรการที่ 3 : ให้วัคซีนที่จำเป็นและวัคซีนใหม่แก่ประชากร กลุ่มเสี่ยง

เร่งรัดและคงรักษาระดับความครอบคลุม การได้รับวัคซีนทุกชนิด สำรวจประชากรเป้าหมายกลุ่มเสี่ยง รณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอแก่ประชากรกลุ่มเสี่ยง ส่งเสริมการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ในนักเรียน โดยสนับสนุนบัตรรับรองการได้รับ วัคซีนในนักเรียนชั้น ป.6 เพื่อใช้เป็นหลักฐาน ในการเข้าเรียนชั้น ม.1

การให้วัคซีนโปลิโอเสริมในพื้นที่เสี่ยง ประจำปี 2558 การให้วัคซีนโปลิโอเสริมในพื้นที่เสี่ยง ประจำปี 2558

การให้วัคซีนโปลิโอเสริมในพื้นที่เสี่ยง ประจำปี 2558 การให้วัคซีนโปลิโอเสริมในพื้นที่เสี่ยง ประจำปี 2558 ค่าเป้าหมาย : ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน OPV เสริม ในประชากรเป้าหมาย ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 รายตำบล/ชุมชน กลุ่มเป้าหมาย : 1. พื้นที่ 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 2. พิจารณาเพิ่มเติมจากพื้นที่เสี่ยงที่ยังไม่ได้ให้วัคซีนเสริม ในปี 2557

การให้วัคซีนโปลิโอเสริมในพื้นที่เสี่ยง ประจำปี 2558 1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กำหนดพื้นที่เสี่ยงอิงตามหลักเกณฑ์ดังนี้ ก. พื้นที่ที่มีประชากรเคลื่อนย้ายสูง ซึ่งมีความยากลำบาก ในการให้บริการวัคซีนตามระบบปกติ ข. พื้นที่ติดชายแดนพม่า หรือมีชุมชนชาวพม่าขนาดใหญ่ ซึ่งการให้วัคซีนปกติไม่สามารถดำเนินการได้ ค. พื้นที่มีเหตุให้สงสัยว่าความครอบคลุมวัคซีนโปลิโอต่ำกว่าเกณฑ์ เช่น มี case AFP อายุ 12 - 60 เดือน ที่ไม่ได้รับวัคซีนป้องกัน โรคโปลิโอ 3 ครั้ง (OPV3) หรือพื้นที่มีรายงานโรคคอตีบหรือหัด ระบาดในเด็กและไม่อาจแก้ไขได้ด้วยการบริการวัคซีนตามระบบ ปกติ ง. กำหนดให้พื้นที่ดำเนินการเป็นหมู่บ้านหรือชุมชน

การให้วัคซีนโปลิโอเสริมในพื้นที่เสี่ยง ประจำปี 2558 2. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กำหนดอายุของกลุ่มเสี่ยงตามข้อมูล จากการดำเนินงานบริการวัคซีน และระบาดวิทยาของแต่ละพื้นที่ 3. กำหนดการ - แจ้งพื้นที่เพื่อดำเนินการเดือน ธ.ค. 2557 - ระยะเวลาดำเนินการให้อยู่ในช่วงเดือน ม.ค. - เม.ย. 2558 แต่ละพื้นที่กำหนดช่วงเวลา 2 รอบ ห่างกัน 4 - 6 สัปดาห์ 4. การให้วัคซีนโปลิโอเสริมในแต่ละพื้นที่ ให้ดำเนินการปีเว้นปี ยกเว้น ในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ที่ให้ดำเนินการปีละ 1 ครั้งต่อไป 5. หากสามารถดำเนินการได้ ควรให้วัคซีนโปลิโอเสริมร่วมไปกับวัคซีนอื่น ในคราวเดียวกันด้วย

การให้วัคซีนโปลิโอเสริมในพื้นที่เสี่ยง ประจำปี 2558 การติดตามประเมินผล - การสำรวจประเมินผลจาก สคร. - การรายงานผลการวัคซีนโปลิโอเสริมจาก สสจ. เมื่อจบโครงการ โดยรวมรายงานเป็นระดับตำบล หรือระดับชุมชนในกรณีเป็นเขตเมือง

การตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ในโรงเรียน

เขียนชื่อ-นามสกุลเด็ก การดำเนินการเมื่อเด็กเข้าเรียนชั้น ป. 1 โรงเรียนแจ้งผู้ปกครองให้สำเนาประวัติการรับวัคซีนของเด็ก ในสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก พร้อมเขียนชื่อเด็กกำกับ มอบให้โรงเรียนเมื่อเข้าเรียน เขียนชื่อ-นามสกุลเด็ก สถานบริการติดตามให้วัคซีนแก่เด็กที่รับวัคซีนไม่ครบ ให้ครบถ้วน รวมถึงให้ MMR แก่เด็กชั้น ป. 1 และบันทึก ในสำเนาประวัติการรับวัคซีนของเด็กแผ่นเดิมเก็บไว้ที่โรงเรียน

การดำเนินการเมื่อเด็กเข้าเรียนชั้น ป. 1 (ต่อ) สถานบริการติดตามให้ dT แก่เด็กชั้น ป. 6 และ บันทึกในสำเนาประวัติการรับวัคซีนของเด็กแผ่นเดิม โรงเรียนมอบใบสำเนาประวัติการรับวัคซีนแก่เด็ก คืนให้ผู้ปกครองก่อนจบ ป.6 เพื่อให้เด็กนำเป็นหลักฐานใน การศึกษาต่อชั้น ม. 1

การดำเนินการเมื่อเด็กเข้าเรียนชั้น ป. 6 สถานบริการขอรายชื่อเด็กชั้น ป.6 ที่กำลังจะจบการศึกษา สถานบริการบันทึกการได้รับ MMR เมื่อเข้าเรียนชั้น ป.1 และ dT ป.6 ใน “บัตรรับรองการได้รับวัคซีนสำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6”  หากไม่สามารถหาข้อมูลได้ ขอให้สอบถามบุคคลที่เกี่ยวข้อง :-  เจ้าหน้าที่ที่ให้บริการวัคซีนนักเรียนในอดีต  ผู้ปกครองเด็ก หรือครู เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องที่สุด นำ “บัตรรับรองฯ” ที่บันทึกการได้รับวัคซีนตาม ข้อ ให้โรงเรียนเพื่อมอบให้ผู้ปกครองก่อนเด็กจบ เพื่อให้เด็กนำเป็นหลักฐาน เมื่อเข้า ม.1 2

บัตรรับรองการได้รับวัคซีนในนักเรียนชั้น ป. 6 ด้านหลัง ด้านหน้า

การดำเนินการเมื่อเด็กเข้าเรียนชั้น ม. 1 โรงเรียนแจ้งผู้ปกครองให้นำ “บัตรรับรองฯ” มอบให้โรงเรียนเมื่อเข้าเรียน สถานบริการประสานขอหลักฐานประวัติการรับวัคซีนของเด็กแต่ละราย ตามข้อ เพื่อติดตามให้ MMR หรือ dT แก่เด็กที่ยังได้รับวัคซีนไม่ครบ บันทึกวันที่ให้วัคซีน ลงใน “บัตรรับรองฯ” หรือ สำเนาประวัติการรับวัคซีนของเด็กและให้เด็กเก็บไว้เพื่อเป็นข้อมูลประจำตัว 1

ประเด็นขอความร่วมมือสสจ.  ประสานการดำเนินงานกับ สพฐ. เขตทุกเขต เพื่อเริ่มใช้ ประวัติการได้รับวัคซีนเป็นหลักฐานในการรับเด็กเข้าเรียน ชั้น ป.1 และชั้น ม.1 ตั้งแต่ปีการศึกษา 2557  แจ้งหน่วยงานสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องและสถานบริการ ที่มีโรงเรียนสังกัด สพฐ. ได้ปฏิบัติตามแนวทางของกระทรวงฯ  ติดตามการใช้ประวัติการได้รับวัคซีนเป็นหลักฐานในการรับเด็ก เข้าเรียนชั้น ป. 1 และชั้น ม. 1

2. ยกระดับคุณภาพการให้บริการวัคซีนและ การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ประชุมอบรมผู้นิเทศงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคระดับเขต ติดตามและประเมินมาตรฐานการดำเนินงาน EPI สุ่มสำรวจ 50% ของจังหวัดในเขตรับผิดชอบ ดำเนินการระหว่างเดือน พ.ค. - ก. ค. 2558

การเลือกพื้นที่ประเมิน 1 จังหวัด ประเมิน 2 อำเภอ (CUP) จังหวัด อำเภอที่มีรพศ/รพท. อำเภอ รพศ./รพท. รพช. รพสต. รพสต. อำเภอ/รพช./รพสต. ที่ไม่ได้ประเมินหรือนิเทศใน 3 ปีที่ผ่านมา

3. ให้วัคซีนที่จำเป็นและวัคซีนใหม่แก่ประชากรกลุ่มเสี่ยง ขยายพื้นที่การให้บริการวัคซีนไข้สมองอักเสบเจอีชนิด เชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ในพื้นที่เขตบริการสุขภาพที่ 2 ,5 และ 6 สนับสนุนวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่สำหรับบุคลากร ทางการแพทย์และสาธารณสุข จัดทำโครงการนำร่องการให้บริการวัคซีน HPV ในโรงเรียนเขตพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

โครงการนำร่องการให้บริการวัคซีนป้องกันเอชพีวี ในนักเรียนหญิงชั้น ป.5

HPV สถานการณ์โรคมะเร็งปากมดลูกในประเทศไทย ร้อยละ มะเร็งปากมดลูกพบได้เป็นอันดับสองในเพศหญิง

สถานการณ์โรคมะเร็งปากมดลูกในประเทศไทย ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก แยกตามอายุ (พบมากช่วง 40-65 ปี) ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก แยกตามระยะของโรค

วัคซีนเอชพีวีที่ขึ้นทะเบียนและมีใช้ในปัจจุบัน Characteristics Gardasil® Cervarix® Manufacturer Merck & Co., Inc. GlaxoSmithKline Biologicals First Approval June 8, 2006 (US-FDA) May 2007 (Aus-FDA) October 16, 2009 (US-FDA) Target disease HPV Types 16, 18, 6, and 11 HPV Types 16 and 18 Schedule 0, 6 months Use for Females 9 - 26, males 9 - 26 Females 9 - 25 Side effect headache, fever, nausea, dizziness; and injection-site pain, swelling, erythema, pruritus, and bruising (frequency of at least 1.0% and greater than placebo) ≥20% pain, redness, and swelling at the injection site fatigue, headache, myalgia, gastrointestinal symptoms, and arthralgia Approved by Thai-FDA Yes [registry no.1C 11/2555(NB)] Yes [registry no. 1C 102/2550(NB)] Cost Per Dose US$130 2,889 THB* US$129 1,995.55 THB* GAVI Price $4.50 per dose $4.60 per dose

โครงการนำร่องให้บริการวัคซีนเอชพีวี ในโรงเรียนเขตพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เริ่มโครงการ : ปีงบประมาณ 2557 หลักการและเหตุผล : นำร่องการให้บริการวัคซีนเอชพีวีในนักเรียนหญิง ป.5 และ เด็กหญิง (สัญชาติไทย) อายุ 11-12 ปีที่ไม่ได้เรียนหนังสือ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำหรับพิจารณาความเป็นไปได้ของการให้บริการ และบรรจุวัคซีนเอชพีวีเข้าสู่แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

ผลการให้บริการวัคซีนเอชพีวี เข็มที่ 1 ในโรงเรียนเขตพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปี 2557 เจ้าหน้าที่สามารถปรับระบบงานเพื่อรองรับวัคซีนใหม่ได้ดี ผู้ปกครองมีความยอมรับวัคซีนป้องกันเอชพีวี ดี ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนเข็มที่ 1 เท่ากับ 92.16% ไม่มีรายงานอาการไม่พึงประสงค์ภายหลังรับวัคซีน ที่รุนแรง ระบบลูกโซ่ความเย็นมีความยืดหยุ่นเพื่อรองรับวัคซีนใหม่

แผนการดำเนินงานโครงการวัคซีนเอชพีวี ปี 2558 จ.พระนครศรีอยุธยา ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ประชุม สรุป เยี่ยม รอบ 1 ปีที่ 2 + สรุปผล เยี่ยม รอบ 3 ปีที่ 1 ฉีด เข็มที่ 1 ฉีด เข็มที่ 2

แผนการขยายการให้บริการวัคซีนป้องกันเอชพีวี

Timeframe โครงการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2558

กิจกรรม ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. สคร. 1. การสำรวจความ ครอบคลุมการได้รับ วัคซีนในประชากร กลุ่มเสี่ยง   สคร.1-12 2. นิเทศติดตามการ ดำเนินงานสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค 2.1 ประชุมวิพากษ์คู่มือ ผู้นิเทศงาน EPI 2.2 อบรมผู้นิเทศงาน EPI ระดับเขต 2.3 สนับสนุนบัตรรับรอง การได้รับวัคซีนใน นักเรียน 2.4 ประเมินมาตรฐาน การดำเนินงาน สร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. กิจกรรม ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. สคร. 3. ประชุมถ่ายทอดแนวทางการให้บริการวัคซีนในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สคร. 1, 3, 4 และ 9 3.1 ประชุมถ่ายทอดการให้บริการวัคซีน JE เชื้อเป็นฯ สำหรับบุคลากรระดับเขตและจังหวัด สคร. 3, 4 และ 9 3.2 ประชุมถ่ายทอดการให้บริการวัคซีน JE เชื้อเป็นฯ สำหรับบุคลากร ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ 3.3 ประชุมติดตามความก้าวหน้า การให้บริการวัคซีนเอชพีวี สคร. 1 3.4 สนับสนุนเอกสารให้ความรู้ เรื่อง วัคซีนเอชพีวี 4. รณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ทุกจังหวัดในพื้นที่ สคร. 1-12 5. รณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอเสริม (SIA) จังหวัดที่ดำเนินการในพื้นที่ สคร. 1-12