หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Advertisements

เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การดุลสมการรีดอกซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s)
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล การหาร เศษส่วน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101)
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
บทที่ 5 การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ค คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม การแทนกราฟ.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ครูปพิชญา คนยืน. ทักษะ กระบวนการ ทาง คณิตศาสตร์ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 8.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การทดลองในวิชาฟิสิกส์
ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ความสัมพันธ์ เศษส่วนกับทศนิยม หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101)
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
การออกแบบโครงสร้างข้อมูล การออกแบบโครงสร้างข้อมูล หมายถึง กรณีสร้างตารางใหม่ด้วย ออกแบบตาราง (Table Design) เพื่อต้องการกำหนด โครงสร้างด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนการ.
ก า ร บ ก ว.
สมบัติของเลขยกกำลัง จัดทำโดย นางเพ็ญประภา รัตนะเดชะ.
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
4) จำนวนคู่สองจำนวนที่เรียงติดกัน เมื่อนำ 6 มาลบออกจากจำนวนที่มากกว่าแล้ว คูณด้วย 3 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับเมื่อนำ 4 มาบวกกับจำนวนที่น้อยกว่าแล้วคูณด้วย 7.
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Number system (Review)
การวัด และเลขนัยสำคัญ
อนุกรมอนันต์และการลู่เข้า
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
BC320 Introduction to Computer Programming
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
Linearization of Nonlinear Mathematical Models
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
ค่าคงที่สมดุลกับสมการเคมี
2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง.
สมการพหุนาม ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
บทที่ 5 : ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ผู้สอน ครูวัชระ วงษ์ดี
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 5 : ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
ความหมายและสมบัติของลอการิทึม
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง คณิตศาสตร์ (ค32101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง เรื่อง การเขียนทศนิยมให้อยู่ในรูปเศษส่วน สอนโดย ครูชนิดา ดวงแข

การเขียนทศนิยมซ้ำในรูปเศษส่วน กรณีที่ 1 ซ้ำด้วย 0 10 3 = 0.30 . เขียนเป็น 0.3 1,000 178 = 0.1780 . เขียนเป็น 0.178

100 35 2 + = 2.350 . เขียนเป็น 2.35 100 235 = 1,000 346 1 + = 1.3460 . เขียนเป็น 1.346 1,000 1,346 =

การเขียนทศนิยมเป็นเศษส่วน กรณีซ้ำด้วย 0 โดยการเอาจุดทศนิยมออกแล้วเขียน จำนวนนั้นเป็นตัวเศษ ตัวส่วนจะเท่ากับ 10, 100, 1,000… ที่มีจำนวนเลขศูนย์ เท่ากับจำนวนตำแหน่งของทศนิยม

. ตัวอย่างที่ 1 0.7 ให้ N = 0.7 ดังนั้น N = 0.777… (1) กรณีที่ 2 ถ้าตัวเลขที่ซ้ำไม่ใช่ 0 ตัวอย่างที่ 1 . 0.7 . ให้ N = 0.7 ดังนั้น N = 0.777… (1) คูณทั้งสองข้างของสมการ (1) ด้วย10 จะได้ 10 N = 10 × 0.777 ...

ตอบ 9 7 . = 9 7 7 N = 9 หรือ 10N = 7.777 (2) สมการ (2) ลบด้วยสมการ (1) ดังนั้น นั่นคือ 9 7 . = ตอบ 9 7

ตัวอย่างที่ 2 จงเขียน 0.62 ให้อยู่ในรูป เศษส่วน วิธีทำ ให้ N = 0.62 . . ตัวอย่างที่ 2 จงเขียน 0.62 ให้อยู่ในรูป เศษส่วน วิธีทำ ให้ N = 0.62 . ดังนั้น N = 0.6222… (1) คูณสมการ (1) ด้วย 10 จะได้ 10 N = 6.222… (2) คูณสมการ (1) ด้วย 100 จะได้ 100 N = 62.222… (3)

สมการ (3) ลบด้วยสมการ (2) จะได้ 100 N - 10 N = (62.222…) - (6.222...) 90 56 = 45 28 นั่นคือ 0.62 . = 45 28

ตัวอย่างที่ 3 จงเขียน 0.725 ให้อยู่ในรูป เศษส่วน วิธีทำ ให้ N = 0.725 . . ตัวอย่างที่ 3 จงเขียน 0.725 ให้อยู่ในรูป เศษส่วน วิธีทำ ให้ N = 0.725 . . ดังนั้น N = 0.7252525… (1) คูณสมการ (1) ด้วย 1,000 จะได้ 1,000 N = 725.252525… (2) คูณสมการ (1) ด้วย 10 จะได้ 10 N = 7.252525… (3)

สมการ (2) ลบด้วยสมการ (3) จะได้ 1,000 N - 10 N = (725.252525…) - (7.252525...) 990 N = 718.000... N = 990 718 นั่นคือ 0.725 . . = 990 718 หรือ 495 359

ตัวอย่างที่ 4 จงเขียน 2.85513 ให้อยู่ใน รูปเศษส่วน วิธีทำ . . ตัวอย่างที่ 4 จงเขียน 2.85513 ให้อยู่ใน รูปเศษส่วน วิธีทำ ให้ N = 2.85513 . . ดังนั้น N = 2.85513513… (1) คูณสมการ (1) ด้วย 100 จะได้ 100 N = 285.513513… (2) คูณสมการ (1) ด้วย 100,000 จะได้100,000 N = 285513.513513… (3)

สมการ (3) ลบด้วยสมการ (2) จะได้ 100,000 N - 100 N = 285513 - 285 = 285513 - 285 99900 N = 285228.. N = 99900 285228 นั่นคือ 2.85513 . . = 99900 285228 หรือ 925 2641

ถ้ามีตัวเลขซ้ำ 1 ตัว เมื่อเขียนเป็น เศษส่วนจะมีตัวส่วนเป็น 9 และ ข้อสังเกต 1 ถ้ามีตัวเลขซ้ำ 1 ตัว เมื่อเขียนเป็น เศษส่วนจะมีตัวส่วนเป็น 9 และ ตัวเศษตัวเลขที่เป็นตัวซ้ำ เช่น 9 6 = 0.6 .

ถ้ามีตัวเลขซ้ำ 2 ตัว เมื่อเขียนเป็น เศษส่วนจะมีตัวส่วนเป็น 99 และ ข้อสังเกต 2 ถ้ามีตัวเลขซ้ำ 2 ตัว เมื่อเขียนเป็น เศษส่วนจะมีตัวส่วนเป็น 99 และ ตัวเศษตัวเลขที่เป็นตัวซ้ำ เช่น 99 13 0.13 = . .

ถ้าทศนิยมดังกล่าวมีบางส่วนซ้ำ และมีบางส่วนไม่ซ้ำ เมื่อเขียนใน ข้อสังเกต 3 ถ้าทศนิยมดังกล่าวมีบางส่วนซ้ำ และมีบางส่วนไม่ซ้ำ เมื่อเขียนใน รูปเศษส่วน

ตัวเศษ หาได้จากผลต่างของจำนวนที่ อยู่หลังทศนิยม ลบจำนวนที่ไม่ซ้ำ ตัวส่วน ประกอบด้วย 9 และ 0 จำนวน 9 เท่ากับจำนวนเลขโดดที่ซ้ำ จำนวน 0 เท่ากับจำนวนเลขโดดที่ไม่ซ้ำ

ตัวอย่างเช่น 0.234 . . 990 2 234 - = = 990 232 495 116 =

1.47 . 90 4 47 - 1+ = = 90 43 1+ = 90 43 1

ลองทำดู

37 = 99 35 35 2+ 2 99 99 จงทำทศนิยมซ้ำให้อยู่ในรูปเศษส่วน 1) 0.37 . . 2) 2.35 . . = 99 35 2 = 99 35 2+

3) 0.537 . . 990 5 537 - = = 990 532 4) 0.5614 . . 9990 5614 - 5 = = 9990 5609 5) 0.3214 . . 9900 3214 - 32 = = 9900 3182

การบ้าน แบบฝึกหัดที่ 2.1 หน้าที่ 42 ข้อที่ 2 (1 - 4)