มาตรฐานไบโอดีเซล สำนักคุณภาพน้ำมันเชื้อเพลิง
วัตถุดิบที่สามารถใช้ผลิตไบโอดีเซล Rapeseed oil Coconut oil Soybean oil Jatropha oil Waste cooking oil Palm oil Sunflower oil
ผลิตภัณฑ์จากปาล์ม ไขปาล์ม ปาล์มเมล็ดใน ปาล์มดิบ
ไบโอดีเซล คืออะไร น้ำมันพืช น้ำมันสัตว์ น้ำมันใช้แล้ว เมทานอล หรือ เอทานอล เมทิลเอสเตอร์หรือ เอทิลเอสเตอร์ (ไบโอดีเซล) กลีเซอรอล ปฏิกิริยาทรานส์เอสเตอริฟิเคชั่น (Transesterification) โดยการเติมแอลกอฮอล์ เช่น เมทานอล หรือเอทานอล และตัวเร่งปฎิกริยา เช่น โซเดียมไฮดรอกไซด์ ภายใต้สภาวะที่อุณหภูมิสูง เพื่อเปลี่ยนโครงสร้าง ของน้ำมัน เป็นเมทิล เอสเตอร์ หรือเอทิลเอสเตอร์
ไบโอดีเซล ไบโอดีเซล
Fatty acid composition of BDF from various feedstocks in Thailand Crude palm oil coconut oil Jatropha oil Palm stearin Palm olein Soybean oil Sunflower oil Caproic acid, C8:0 - 7.42 Capric acid, C10:0 5.78 Lauric acid, C12:0 0.35 49.75 0.25 0.37 0.1 Myristic acid, C14:0 0.92 18.75 1.27 0.91 0.2 Palmitic acid, C16:0 44.11 8.60 14.85 59.19 38.53 10.7 6.0 Stearic acid, C18:0 4.36 2.65 7.43 4.43 0.08 3.9 4.0 Arachidic acid, C20:0 0.09 0.18 0.31 0.13 Other = 0.2 = 1.1 Sum of Saturated FA 49.83 93.13 22.36 65.45 40.02 15.1 11.2 Palmitoleic acid, C16:1 0.3 <1.0 Oleic acid, C18:1 38.97 5.53 47.65 28.61 58.13 22.8 16.5 Linoleic acid, C18:2 11.21 1.26 29.80 5.86 1.78 50.8 72.4 Linolenic acid, C18:3 0.07 0.19 = 6.8 = 0.6 Sum of Unsaturated FA 50.18 6.86 77.64 34.55 59.98 80.7 90.5
มาตรฐานไบโอดีเซลสากล EN 14214 ASTM D 6751
มาตรฐานไบโอดีเซลประเทศไทย ธพ. ไบโอดีเซล (B100) ตามมาตรฐาน EN 14214 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่ยอมรับทางยุโรป มาตรฐานไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอสเตอร์ของกรดไขมัน มาตรฐานไบโอดีเซลเครื่องยนต์การเกษตร (ไบโอดีเซลชุมชน)
มาตรฐานน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว กรมธุรกิจพลังงานได้กำหนดมาตรฐานคุณภาพของน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว 2 ชนิด - ดีเซลหมุนเร็วธรรมดา บี 2 - ดีเซลหมุนเร็ว บี5 ผสมไบโอดีเซล 5% โดยมีข้อกำหนดคุณภาพเหมือนน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว และเพิ่มข้อกำหนด oxidation stability
ด้านการใช้งาน กลุ่มประเทศยุโรป กำหนดมาตรฐานน้ำมันดีเซลหมุนเร็วเกรดเดียว โดยให้สามารถผสมไบโอดีเซลได้ไม่เกิน 5 % กลุ่มผู้ผลิตหัวฉีดเครื่องยนต์ดีเซล ยอมรับว่าน้ำมันดีเซล บี5 ที่มีส่วนผสมของไบโอดีเซลที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน EN14214 สามารถใช้ได้โดยไม่มีผลกระทบต่อหัวฉีด ญี่ปุ่นกำหนดมาตรฐานน้ำมันดีเซลหมุนเร็วเป็น 2 เกรด เช่นเดียวกับประเทศไทย แต่เพิ่มเติมข้อกำหนดคุณภาพ จากน้ำมันดีเซลหมุนเร็วทั่วไปจำนวน 6 ข้อ
Total Acid Number (TAN) Formic Acid, Acetic Acid and Propionic Acid มาตรฐานน้ำมันดีเซลประเทศญี่ปุ่น Regulatory Item B5 Diesel Additional Items FAME Content 5.0 mass % max 0.1 mass % max Triglyceride Content 0.01 mass % max Methanol Content - Total Acid Number (TAN) 0.13 mg KOH/g max Formic Acid, Acetic Acid and Propionic Acid 0.003 mass % max Oxidation Stability (Acid Value Growth) 0.12 mgKOH/g max
มาตรฐานน้ำมันดีเซลประเทศญี่ปุ่น Regulatory Item B5 Diesel Existing Items Sulfur Content 0.005 mass % max 0.005 mass max Cetane Index 45 or more Distillation T 90 % 360°C max 360°C max
มาตรฐานไบโอดีเซลสำหรับ เครื่องยนต์การเกษตร
การควบคุมคุณภาพ ควบคุมดูแลตั้งแต่ การผลิต การนำเข้า การขนส่ง จนกระทั่งถึงจุดจ่ายให้กับผู้บริโภคคือสถานีบริการ จัดส่งรถยนต์ตรวจสอบคุณภาพน้ำมันเชื้อเพลิงเคลื่อนที่ (Mobile Lab) ตรวจสอบ ณ สถานีบริการต่าง ๆ ทั่วประเทศ ส่วนภูมิภาค ออกไปเก็บตัวอย่างน้ำมันเชื้อเพลิงจากสถานีบริการมาตรวจสอบคุณภาพในห้องปฏิบัติการ (Lab) จัดทำโครงการรับรองระบบการควบคุมคุณภาพน้ำมันเชื้อเพลิง โดยความร่วมมือของภาครัฐและภาคเอกชน
สรุปสาระสำคัญ กำหนดมาตรฐานไบโอดีเซลสำหรับเครื่องยนต์การเกษตรแยกต่างหากจากมาตรฐานไบโอดีเซลที่ใช้เป็นวัตถุดิบสำหรับผสมน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว กำหนดคำจำกัดความของครื่องยนต์การเกษตร ให้หมายถึง เครื่องยนต์สูบเดียว 4 จังหวะ สูบนอน ระบายความร้อนด้วยน้ำ กำหนดให้ผู้จำหน่ายหรือมีไว้เพื่อจำหน่ายไบโอดีเซลสำหรับเครื่องยนต์การเกษตรต้องมาขอรับความเห็นชอบจากอธิบดีกรมธุรกิจพลังงานก่อน จึงจะจำหน่ายได้
สรุปสาระสำคัญ กำหนดคุณภาพให้ผ่อนคลายจากคุณภาพของไบโอดีเซลสำหรับใช้ผสมกับน้ำมันดีเซลเพื่อการใช้งานของรถยนต์ เช่น ค่าความหนืด ปริมาณน้ำและตะกอน และปริมาณ กลีเซอรีน กำหนดสีของไบโอดีเซลสำหรับเครื่องยนต์การเกษตร ให้เป็นสีม่วง ทั้งนี้เพื่อป้องกันมิให้มีการนำไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ ซึ่งอาจนำไปปลอมปนหรือจำหน่ายโดยตรงให้กับรถยนต์