โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่ 1- 12.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
2 ลำดับจังหวัดกล้องแผนงาน 15- มิ. ย.30- มิ. ย. ร้อยละเพิ่มขึ้น 1 นครสวรรค์ *** 2 8,6005,8067, , อุบลราชธานี *** 3 12,9004,2295, ,
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
สรุปผลการปิดอำเภอเป้าหมาย ปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 12 กันยายน 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
การดำเนินงานลดขั้นตอนและระยะเวลาให้บริการ (ตัวชี้วัดที่ 9)
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
สรุปผลการปิดอำเภอ เป้าหมาย ปี 2555 ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
กลุ่มตรวจการสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การสำรวจสถานการณ์ระดับสติปัญญา เด็กนักเรียนไทย ปี 2554
โดย ศรีสุดา เตชะสาน ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมพืชน้ำมัน และพืชตระกูลถั่ว สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้า เกษตร.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา น. ณ ห้องบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ อาคาร 3 ชั้น 5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและ ถ่ายทอดเทคโนโลยี. สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและถ่ายทอดเทคโนโลยี ลำ ดับ หลักสูตร คน : รุ่น ว / ด / ป ที่ ดำเนินการ 1.ข้าราชการใหม่40.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
จัดทำคู่มือโครงการฯ ก.ย.-ต.ค.61 ประชุมเตรียมการจัด RW ต.ค.61 / มิ.ย.62
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
ผังพื้นที่สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1-10
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่ 1- 12

วัตถุประส งค์ 2. เพื่อพัฒนาหรือขยายเครือข่ายเจ้า พนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าพนักงาน ตามกฎหมายสาธารณสุข 3. เพื่อสนับสนุนให้เทศบาล 1) มีการออกเทศบัญญัติควบคุม กิจการภายในท้องถิ่น อย่างน้อย 2 เรื่อง 2) มีระบบการจัดการเหตุรำคาญ และกรณีมีเหตุรำคาญ สามารถแก้ไขได้เกิน ร้อยละ 60

พื้นที่เป้าหมายและงบประมาณ สนับสนุน ศูนย์ อนามัยที่ พัฒนาเครือข่าย พื้นที่เดิม ขยายเครือข่ายพื้นที่ ใหม่ งบประม าณ 1 ปทุมธานีนนทบุรี 120, สระบุรี, ลพบุรี, สิงห์บุรี, ชัยนาท 100,000 3 สระแก้วจันทบุรี, ตราด 120,000 4 นครปฐม - 100,000 5 ชัยภูมิ - 100,000 6 หนองบัวลำภูขอนแก่น 120,000

ศูนย์ อนามัยที่ พัฒนาเครือข่าย พื้นที่เดิม ขยายเครือข่ายพื้นที่ ใหม่ งบประม าณ 7 ยโสธร - 100,000 8 นครสวรรค์ - 100,000 9 อุตรดิตถ์ตาก 120, ลำปาง - 100, , สงขลาตรัง 120,000 รวม ,220,000 พื้นที่เป้าหมายและงบประมาณ สนับสนุน ( ต่อ )

ขั้นตอนการเตรียมการ กำหนดจังหวัดเป้าหมาย โดยศูนย์ อนามัยที่ 1-12 พิจารณาคัดเลือกจังหวัดที่มี ความพร้อมในการดำเนินงานด้านกฎหมาย สาธารณสุขของผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงาน ทั้งในระดับจังหวัด และอปท. โดยดำเนินการ ใน 3 กรณีคือ 1. ขยายพื้นที่จังหวัดใหม่และพัฒนา เครือข่ายพื้นที่เดิม 2. ขยายพื้นที่ใหม่ในจังหวัดเดิมและ พัฒนาเครือข่าย พื้นที่เดิม 3. พัฒนาเครือข่ายในพื้นที่เดิมและ จังหวัดเดิม

ขั้นตอนและวิธีการ ดำเนินงาน ( ต่อ ) ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข จัดประชุมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านกฎหมายสาธารณสุข ( ศอที่ 1- 12) เพื่อ 1. ชี้แจงทำความเข้าใจถึง วัตถุประสงค์รูปแบบและขั้นตอน การดำเนินงานตามโครงการฯ 2. ร่วมกันพิจารณากำหนด แผนปฏิบัติงานการสร้างและ พัฒนาเครือข่ายเจ้าพนักงาน

การสร้างและพัฒนาเครือข่ายเจ้า พนักงานฯ 1. ผู้ข้าอบรมร่วมกันจัดทำแผนการสร้างและ พัฒนาเครือข่ายเจ้าพนักงานตามกฎหมาย สาธารณสุข 2. จัดกิจกรรมต่างๆ เช่น จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ การศึกษาดูงานฯลฯให้แก่เจ้า พนักงานตามกฎหมายฯที่ผ่านการอบรม โดยจัด 1-2 ครั้ง หลังจากจัดการอบรมเสร็จ สิ้นแล้ว 3. จัดทำทำเนียบเจ้าพนักงานตามกฎหมาย สาธารณสุข

โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่ การสนับสนุนติดตาม และการประเมินผล โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่าย เจ้าพนักงานฯ

ศกม. สนับสนุน.... วิทยากร / เอกสาร คู่มือ / ต้นแบบข้อบัญญัติ / งบประมาณ ฯลฯ การติดตามประเมินผล ตั้งทีมสนับสนุนและติดตาม ประเมินผล - เครื่องมือการติดตาม ประเมินผล - จัดประชุมถอดบทเรียน ( ปลายเดือนก. ค ) ฯลฯ

วิทยากรสนับสนุน โครงการ วิทยากรหลัก - นายสมชาย ตู้แก้ว - นางพรพรรณ ไม้สุพร วิทยากรสนับสนุน 1) นางนัทฐ์หทัย ไตร ฐิ่น 2) นางวิไลวรรณ มาเจริญ ทรัพย์ 3) นางสาววิภา รุจิจนากุล 4) นายชาญชัย เกษจันทร์ 5) นางสาววราลักษณ์ ศร แดง 6) นายเกรียงศักดิ์ ทอง แก้ว 7) นายสุระศักดิ์ แก้ว เจริญ

ทีมสนับสนุน / ติดตาม ประเมินผล ทีมที่ 1 ผู้รับผิดชอบ 1. นางสาวสิริวรรณ จัน ทนจุลกะ 2. นางวิไลวรรณ มา เจริญทรัพย์ 3. ร้อยโทหญิงลัฐิกา จันทร์จิต 4. นางสาววราลักษณ์ ศร แดง พื้นที่ ศูนย์อนามัยที่ 3,7, นางพรพรรณ ไม้สุพร 2. นางมะลิลา ตันติยุทธ 3. นายเกรียงศักดิ์ ทอง แก้ว ศูนย์อนามัยที่ 4,5,10

ทีมติดตาม / สนับสนุน ( ต่อ ) ทีมที่ 3 ผู้รับผิดชอบ 1. นายสมชาย ตู้แก้ว 2. นางสาวเชื้อเพ็ญ บุพศิริ 3. นายชาญชัย เกษจันทร์ พื้นที่ ศูนย์อนามัยที่ 1,2, นางนัทฐ์หทัย ไตรฐิ่น 2. นางสาววิภา รุจิจนากุล 3. นางวาสนา ปะสังคา นนท์ 4. นายสุระศักดิ์ แก้วเจริญ ศูนย์อนามัยที่ 6,8,9

ศูนย์อนามัย ที่ 1-12 การประเมินผลผลิต... หลังการ อบรม - ประเมินองค์ความรู้ - ประเมินการนำความรู้ไป ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และตามแผนที่ผู้เข้าอบรมส่งมา ให้ศูนย์ฯ - จัดทำสรุปผลการดำเนิน โครงการฯ สนับสนุน ตามแผนที่ผู้เข้าอบรมส่งมาให้ศูนย์ฯ - เน้นสนับสนุนการมีเทศบัญญัติอย่างน้อย 2 เรื่อง / มีระบบการจัดการเหตุรำคาญ และกรณีมีเหตุ รำคาญสามารถแก้ไขได้เกิน ร้อยละ 60 - การสร้าง / พัฒนาเครือข่ายฯ เช่น จัดเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาดูงาน ฯลฯ

ระบบการจัดการเหตุ รำคาญ หมายความว่า มีผู้รับผิดชอบ 2. มีการกำหนดวิธีการและขั้นตอนการ แก้ไขเหตุรำคาญดังนี้ 2.1 การรับเรื่อง 2.2 การตรวจสอบ 2.3 การจัดการ ( การไกล่เกลี่ย การให้ คำแนะนำ การออกคำสั่ง การเปรียบเทียบปรับ และ การดำเนินคดี ) 2.4 การบันทึกข้อมูล

กรณีมีเหตุรำคาญสามารถ แก้ไขได้ หมายความว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการ เช่น ไกล่เกลี่ย ให้คำแนะนำ ออกคำสั่ง เปรียบเทียบปรับ แล้ว ผู้ก่อเหตุรำคาญยอมระงับเหตุรำคาญ หรือ 2. กรณีผู้ก่อเหตุรำคาญไม่ดำเนินการ ระงับเหตุรำคาญ ให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นดำเนินคดี ( โดยไม่ต้องรอ ผลการบังคับคดี )