วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์ ระดับชั้น ม.4 แผนที่-ลูกโลก และการใช้แผนที่ วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์ ระดับชั้น ม.4 ของ ครูธนาพร เหรียญทอง โรงเรียนปิยะบุตร์
แผนที่ คือ สิ่งที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อแสดงลักษณะและที่ตั้งของสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฏบนผิวโลก โดยการย่อส่วน และการใช้สัญลักษณ์แทนลงในวัสดุพื้นราบ
ลูกโลก เป็นเครื่องมือ ทางภูมิศาสตร์ที่ใช้ ศึกษาลักษณะ ตำแหน่งต่างๆ บนพื้นผิวโลกได้ โดยการย่อส่วนในลักษณะทรงกลมที่คล้ายโลกจริง
ความแตกต่างของแผนที่/ลูกโลก รายละเอียดในแผนที่มีมากกว่าลูกโลก 1. รูปร่าง ทรงกลม/ ทรงแบน 2. การนำไปใช้งาน หมุนได้ / หมุนไม่ได้ รายละเอียดในแผนที่มีมากกว่าลูกโลก 3. ศึกษาเฉพาะเรื่อง
ประเภทของแผนที่ 1. แผนที่ทางกายภาพ 2. แผนที่เฉพาะเรื่อง
1.1 แผนที่รัฐกิจ แสดงรายละเอียดของเขตการปกครอง 1. แผนที่ทางกายภาพ 1.1 แผนที่รัฐกิจ แสดงรายละเอียดของเขตการปกครอง 1.2 แผนที่ภูมิประเทศ แสดงถึงลักษณะพื้นที่สูง ต่ำ 1.3 แผนที่ภูมิอากาศ 1.4 แผนที่เศรษฐกิจ แสดงเขตอาชีพ 1.5 แผนที่ประวัติศาสตร์
เป็นแผนที่ที่จัดทำขึ้นโดยแสดงเฉพาะรายละเอียดที่ต้องการเท่านั้น เช่น 2. แผนที่เฉพาะเรื่อง เป็นแผนที่ที่จัดทำขึ้นโดยแสดงเฉพาะรายละเอียดที่ต้องการเท่านั้น เช่น แผนที่เส้นทางการคมนาคม (ทางรถยนต์ ทางรถไฟ ทางเดินเรือ ทางอากาศ) แผนที่ธรณีวิทยา แผนที่ปริมาณน้ำฝน แผนที่ท่องเที่ยว ฯลฯ
1. ขอบระวาง 2. ชื่อแผนที่ 4. ทิศทาง 3. สัญลักษณ์ 5. มาตราส่วน องค์ประกอบของแผนที่ 1. ขอบระวาง 2. ชื่อแผนที่ 4. ทิศทาง 3. สัญลักษณ์ 5. มาตราส่วน 6. เส้นโครงแผนที่
ภายนอก บอกรายละเอียด นอกกรอบ เช่น ชื่อ คำอธิบาย มาตราส่วน ตัวเลขพิกัดฯ 1.ขอบระวาง ภายนอก บอกรายละเอียด นอกกรอบ เช่น ชื่อ คำอธิบาย มาตราส่วน ตัวเลขพิกัดฯ
ภายใน บอกรายละเอียดของการย่อส่วนพื้นที่ โดยใช้สัญลักษณ์ประเภทต่างๆ 1.ขอบระวาง ภายใน บอกรายละเอียดของการย่อส่วนพื้นที่ โดยใช้สัญลักษณ์ประเภทต่างๆ
แผนที่แสดงกายภาพ แผนที่แสดง รัฐกิจ แผนที่โลก 2.ชื่อแผนที่ แผนที่แสดงกายภาพ แผนที่แสดง รัฐกิจ แผนที่โลก แผนที่แสดงเส้นทาง
3.สัญลักษณ์ สี เส้น ภาพ จุด
4.ทิศทางในแผนที่
5. มาตราส่วน คือ อัตราส่วนระหว่างส่วนที่ย่อหรือระยะทาง ในแผนที่กับระยะทางจริง ได้แก่ 1. มาตราส่วนคำพูด ระยะทางในแผนที่ 1ซ.ม. เท่ากับระยะ ทางในภูมิประเทศจริง 100 กิโลเมตร
3. แบบกราฟิก หรือแบบไม้บรรทัด มาตราส่วน 2. แบบอัตราส่วน (1:1000 หรือ ) 1000 1 3. แบบกราฟิก หรือแบบไม้บรรทัด ก.ม. 100 200 300 400 500
6.เส้นโครงแผนที่ ระบบการเขียนเส้นละติจูด และเส้นลองติจูด(เมริเดียน)ลงในแผนที่โดยลากเส้น ทั้งสองตัดกันเป็นตาราง เส้นโครงแผนที่แบบระนาบ เส้นโครงแผนที่แบบผสม เส้นโครงแผนที่แบบกรวย เส้นโครงแผนที่แบบกระบอก
เส้นโครงแผนที่ แบบระนาบ
เส้นโครงแผนที่ แบบกรวย
เส้นโครงแผนที่ แบบกระบอก
เส้นโครงแผนที่ แบบผสม
ทดสอบ...กันหน่อยดีไหม