สรุปผลการดำเนินงาน รณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน ช่วงเทศกาลสงกรานต์ปี ๒๕๕๗ ระหว่างวันที่ ๑๑ – ๑๗ เมษายน ๒๕๕๗ จังหวัดสงขลา
เป้าหมายการดำเนินการ ลดจำนวนครั้งของการเกิดอุบัติเหตุ จำนวนผู้เสียชีวิต และผู้บาดเจ็บ (admit) ให้ เหลือน้อยที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 2556
สงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ" “ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ"
สรุปสถิติอุบัติเหตุทางถนน ช่วงเทศกาลสงกรานต์ ๒๕๕๗ (ศปถ.จว.สงขลา) มีอุบัติเหตุเกิดขึ้น จำนวน ๕๙ ครั้ง ผู้เสียชีวิต จำนวน ๘ คน มีผู้บาดเจ็บ จำนวน ๕๗ คน ประเภทรถที่เกิดอุบัติเหตุสูงสุด รถจักรยานยนต์ ร้อยละ ๘๓.๐๕ ประเภทถนนที่เกิดอุบัติเหตุสูงสุด คือ ถนนกรมทางหลวงร้อยละ ๕๓.๔๙ สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุสูงสุดคือ เมาสุรา ร้อยละ ๑๘.๓๑ รองลงมาขับรถเร็วเกินกำหนดร้อยละ ๑๖.๙๐ ไม่ปฏิบัติตามมาตรการหลักสูงสุด คือ ไม่สวมหมวกนิรภัย
พื้นที่เกิดเหตุสูงสุด อ.หาดใหญ่ ๒๘ ครั้ง เสียชีวิต ๘ คน สรุปอำเภอที่ไม่เกิดอุบัติเหตุ ๔ อำเภอ คือ อำเภอจะนะ, คลองหอยโข่ง, สิงหนคร และกระแสสินธุ์ พื้นที่เกิดเหตุสูงสุด อ.หาดใหญ่ ๒๘ ครั้ง เสียชีวิต ๘ คน สูงสุด อ.หาดใหญ่ ๕ ราย, อ.รัตภูมิ/ควนเนียง/บางกล่ำ อำเภอละ ๑ ราย
สถิติ/รายงาน การป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน ช่วงเทศกาลสงกรานต์ (เปรียบเทียบข้อมูลย้อนหลัง)
สถิติอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 2553– 2557 (ศปถ.จว.สงขลา) จำนวน
ร้อยละของการเกิดอุบัติเหตุจำแนกตามประเภทรถ ปี 2553 - 2557
ร้อยละของการเกิดอุบัติเหตุจำแนกตามสาเหตุ ปี 2553 - 2557
อัตราร้อยละของการเกิดอุบัติเหตุจำแนกตามประเภทถนน ปี 2553 - 2557
รวมจำนวนบาดเจ็บ ศปถ.(Admit) จว.สข.57 ราย บาดเจ็บรวมสาธารณสุข 621 ราย เปรียบเทียบข้อมูลจำนวนการบาดเจ็บ ศปถ.กับสาธารณสุขรายวันช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 2557 จำนวน 10+ เท่า รวมจำนวนบาดเจ็บ ศปถ.(Admit) จว.สข.57 ราย บาดเจ็บรวมสาธารณสุข 621 ราย
รวมจำนวนบาดเจ็บ ศปถ. จว.สข.57 ราย รวม Admit สาธารณสุข 90 ราย 0.5 เท่า รวมจำนวนบาดเจ็บ ศปถ. จว.สข.57 ราย รวม Admit สาธารณสุข 90 ราย
จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุช่วงเทศกาลสงกรานต์ จังหวัดสงขลา ปี 2551-2557 (7วันอันตราย)
รายละเอียดผู้เสียชีวิต ๑๑/๔/๕๗ นายเพรี่ยง ขาวคุ้ง ๕๖ ปี เมาสุรา ขับขี่รถจักรยานยนต์ ชนเสาไฟฟ้า ถนนบ้านเขานุ้ย (จังโหลน-นาพรุ) ต.คูหาใต้ อ.รัตภูมิ ๑๓/๔/๕๗.น.ส.ชรินรัตน์ บุญศรีโรจน์ 24 ปี ขับรถเร็ว ถนน อบต. บ้านควนไทร ท่าช้าง บางกล่ำ ๑๔/๔/๕๗.นายจิต สุขศรีเจริญวงค์ 60 ปี ขับรถเร็ว ถ.เพชรเกษม บ.เกาะม่วง ต.ทุ่งตำเสา หาดใหญ่
รายละเอียดผู้เสียชีวิต ๑๔/๔/๕๗.นายวีระพงค์ กาฬวงค์ 20 ปี ฝ่าสัญญาณไฟ ถ.ลพบุรีราเมศร์ บ.คลองแห ต.หาดใหญ่ หาดใหญ่ ๑๔/๔/๕๗นายเชิดศักดิ์ เห็นชอบ 24 ปี ฝ่าสัญญาณไฟ . ๑๕/๔/๕๗.นายอาหมีน สุวรรณชาตรี 28 ปี ม.11 ต.คลองแห อ.หาดใหญ่ ขับขี่ จยย. ชนต้นไม้
รายละเอียดผู้เสียชีวิต ๑๕/๔/๕๗. นายวิระ มั่วเนียว 38 ปีม.11 ต.บางเหรียง . อ.ควนเนียง ขับขี่ จยย. ชนปิคอัพ ๑๖/๔/๕๗. นายประเสริฐ ชัยเขื่อนขันธ์ ๕๔ ปี ม.๒ ต.ควนลัง อ.หาดใหญ่ ขับปิคอัพชนต้นไม้ บริเวณตลาดเกษตร ถ.เพชรเกษม ต.ควนลัง อ.หาดใหญ่
ผลการบันทึกข้อมูลอุบัติเหตุ ช่วงเทศกาลสงกรานต์ ๒๕๕๗
สรุปการบันทึกข้อมูลผ่าน WEB สพฉ.
มาตรการ 5 E Enforcement การบังคับใช้กฎหมาย Engineering วิศวกรรมจราจร Education การให้ความรู้ สื่อสารประชาสัมพันธ์ Emergency Medical Service (EMS) การแพทย์ฉุกเฉิน Evaluation การติดตามประเมินผล
แผนปฏิบัติการ Action Plan Who? ใคร ทีม What? ทำอะไร When? เมื่อไหร่ เป้าหมาย: ตัวชี้วัด ประเมินผล: Milestone หลักกิโล
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ตัวชี้วัด : การบาดเจ็บและเสียชีวิตลดลง = ลดลง สถานการณ์และสภาพปัญหา > ปีที่ผ่านมา ปี ๒๕๕๖-๕๗ จัดกิจกรรมมากขึ้น/หลายพื้นที่/การจราจรเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ > สาเหตุเมาสุราลดลงจากมาตรการทางกฎหมายที่เข้มขึ้น > พฤติกรรมการขับขี่เป็นปัญหาหลักของสาเหตุอุบัติเหตุทางถนน..
ดูแลความปลอดภัยให้กับนักเรียนที่ข้ามถนน
โครงการพี่ช่วยน้อง
อาสาจราจร
เตรียมออกปฏิบัติหน้าที่ ณ สถานที่จริง
บรรยายให้ความรู้แก่นักเรียน
บรรยายให้ความรู้เรื่องการป้องกันอุบัติเหตุแก่นักเรียน
ป้ายห้ามรถบรรทุก
เพื่อลดปัญหาจราจรติดขัดในชั่วโมงเร่งด่วน ช่องจอดรถจักรยานยนต์ จัดช่องจราจร และกำหนดที่จดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ของผู้ปกครอง บริเวณหน้า รร.อนุบาลสงขลา เพื่อลดปัญหาจราจรติดขัดในชั่วโมงเร่งด่วน ช่องจอดรถยนต์ ช่องจอดรถจักรยานยนต์
1. การนำเสนอจากพื้นที่ .. เตรียมโจทย์ + กรอบนำเสนอ ถ้าเป็นไปได้ น่าจะเน้นความต่อเนื่องจากครั้งที่แล้ว - การวิเคราะห์ และ จัดการข้อมูลภาพรวม - การวิเคราะห์ และ จัดการข้อมูลเชิงประเด็น (ดื่มแล้วขับ , ไม่สวมหมวก) .. ตามประเด็น สุดเสี่ยง ที่พื้นที่เลือกไว้ (ตั้งแต่ครั้งที่แล้ว) - การนำข้อมูลไปเสนอภาคี (นำเสนอรูปแบบไหน อย่างไร ผลเป็นอย่างไร?) - gap ในการจัดการข้อมูล และ ข้อเสนอ คืออะไร
2. ชุดความรู้ที่อยากให้เกิดขึ้น นอกจากได้แนวทาง การจัดการข้อมูลภาพรวม , อยากให้เกิด "รูปแบบ" การจัดการข้อมูลเชิงประเด็น 3. ถ้าบางพื้นที่ มีบทเรียนระดับอำเภอ อาจจะให้ลองนำเสนอด้วย (ทิศทางระยะต่อไป จะค่อยๆ เริ่มเคลื่อนวงจรแก้ปัญหา 5ส ไปสู่อำเภอ
ขอบคุณสำหรับความร่วมมือจากทุกท่าน Thank.. ขอบคุณสำหรับความร่วมมือจากทุกท่าน