พระขวัญชัย อิสฺสรธมโม(คำมา) นักศึกษาชั้นปีที่ 4 รหัส 5210540211100 คณะศึกษาศาสตร์ เอกการสอนภาษาอังกฤษ
ประวัติส่วนตัว เกิด วันอาทิตย์ ที่ 3 เดือน มีนาคม พ. ศ ประวัติส่วนตัว เกิด วันอาทิตย์ ที่ 3 เดือน มีนาคม พ.ศ.2534 ที่บ้านเลขที่ 41/1 หมู่ 4 ต.เวียงเหนือ อ.ปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน จบชั้นประถมศึกษาและชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจาก โรงเรียนสังวาลย์ วิทย์3 จบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจาก โรงเรียนสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 4 คณะศึกษาศาสตร์ เอกการสอนภาษาอังกฤษ เป้าหมายที่ตั้งไว้ ถ้าบวชต่อเรื่อยๆขอปฏิบัติให้ถึงที่สุดแห่งทุกข์ แต่ถ้าหมดบุญผ้าเหลืองขอเป็นข้ารับใช้แผ่นดินอย่างซื่อสัตย์
แนวคิดและวิธีการสอนภาษาอังกฤษ - อดีตถึงปัจจุบัน แนวคิดและวิธีสอนภาษาอังกฤษที่มีอิทธิพลต่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง (ESL) และภาษาต่างประเทศ (EFL) มีดังนี้ 1. การสอนแบบไวยากรณ์และแปล (grammar-translation method) 2. วิธีสอนแบบตรง (direct method) 3. วิธีสอนแบบฟัง-พูด (audio-lingual method) 4. การสอนตามแนวทฤษฎีการเรียนแบบความรู้ความเข้าใจ (cognitive code-learning) 5. การสอนตามแนวธรรมชาติ (natural approach)
6. การสอนแบบเงียบ (silent way) 7. การสอนแบบชักชวน (suggestopedia) 8 6. การสอนแบบเงียบ (silent way) 7. การสอนแบบชักชวน (suggestopedia) 8. การสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง (total physical response method) 9. การสอนแบบกลุ่มสัมพันธ์ (community language learning) 10. การสอนตามแนวสื่อสาร (communicative language teaching)
แนวโน้มการเรียนภาษาอังกฤษในอนาคต 1 แนวโน้มการเรียนภาษาอังกฤษในอนาคต 1. การสอนตามแนว cognitive-constructivist approach to language learning) 2. การเรียนตามแนวบูรณาการเนื้อหาและภาษา (content and language integrated learning) 3. การเรียนแบบร่วมมือ (cooperative learning) 4. การบูรณาการภาษากับวัฒนธรรม (integration of culture in language learning) 5. การบูรณาการวรรณคดีกับการเรียนภาษา (integration of literature in language learning
แนวคิดและวิธีสอนภาษาที่มีอิทธิพลต่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ในประเทศไทยในปัจจุบันและอนาคต การสอนภาษาอังกฤษตามแนวสื่อสาร communicative language teaching (CLT) การสอนภาษาแบบสื่อสาร (Communicative Language Teaching - CLT) คือแนวคิดซึ่งเชื่อมระหว่างความรู้ทางภาษา (linguistic knowledge) ทักษะทางภาษา (language skill) และความสามารถในการสื่อสาร (communicative ability) เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้โครงสร้างภาษาเพื่อสื่อสาร
องค์ประกอบของความสามารถในการสื่อสารไว้ 4 องค์ประกอบ ดังนี้ สื่อสาร 1 องค์ประกอบของความสามารถในการสื่อสารไว้ 4 องค์ประกอบ ดังนี้ สื่อสาร 1. ความสามารถทางด้านไวยากรณ์หรือโครงสร้าง (grammatical competence) 2. ความสามารถด้านสังคม (sociolinguistic competence) 3. ความสามารถในการใช้โครงสร้างภาษาเพื่อสื่อความหมายด้านการพูด และเขียน (discourse competence) 4. ความสามารถในการใช้กลวิธีในการสื่อความหมาย (strategic competence)
บทบาทของครู (teacher roles) บทบาทของครู (teacher roles) บทบาทของสื่อการเรียนการสอน (the role of instructional materials) - เนื้อหา (text-based material) - งาน/กิจกรรม (task-based material) - สื่อที่เป็นของจริง (regalia) แหล่งที่มาhttp://wbc.msu.ac.th/wbc/edu/0506714/Unit_2/Unit_2.htm