การดุลสมการรีดอกซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s)
การดุลสมการรีดอกซ์ หลักการดุลสมการรีดอกซ์มีดังต่อไปนี้ 1. ดุลอะตอมโดยหาตัวเลขที่เหมาะสมไปคูณ 2. ดุลประจุไฟฟ้าของธาตุที่เลขออกซิเดชันเปลี่ยนโดยการเติมอิเล็กตรอน 3. สมการไอออนิก ดุลประจุไฟฟ้าของสมการในสารละลายกรดและอะตอม O และ H โดยการเติม H + และ H2O 4. สมการไอออนิก ดุลประจุไฟฟ้าของสมการในสารละลายเบสและอะตอม O และ H โดยการเติม OH - และ H2O 5. ดุลอะตอมของสารอื่นที่เลขออกซิเดชันไม่เปลี่ยน หลังจากดุลอะตอมที่ ให้ - รับอิเล็กตรอน และเริ่มจากโมเลกุลใหญ่ไปหาโมเลกุลเล็ก ส่วน H2O ควรดุลทีหลัง
สมการที่ดุลแล้วตรวจสอบได้โดย อะตอมของธาตุทุกธาตุทางซ้าย = ทางขวา ผลรวมของประจุไฟฟ้าทางซ้าย = ทางขวา
อะตอมทางซ้าย = อะตอมทางขวา Cu Ag + Cu 2+ Ag อะตอมทางซ้าย = อะตอมทางขวา ประจุท้ายซ้าย +1 = ประจุทางขวา +2
อะตอมทางซ้าย = อะตอมทางขวา Cu Cu 2+ Ag + Ag + Ag Ag อะตอมทางซ้าย = อะตอมทางขวา ประจุท้ายซ้าย +2 = ประจุทางขวา +2
1. การดุลโดยใช้เลขออกซิเดชัน การดุลสมการรีดอกซ์ 1. การดุลโดยใช้เลขออกซิเดชัน 2. การดุลโดยใช้ครึ่งปฏิกิริยา
1. การดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน มีหลักการดังนี้ 1. การดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน มีหลักการดังนี้ ตัวอย่าง จงดุลสมการรีดอกซ์ต่อไปนี้โดยใช้เลขออกซิเดชัน Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s) ขั้นที่ 1 หาเลขออกซิเดชันของทุกธาตุ เพื่อกำหนดตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดส์ ox.no ลดลง CuCl2 จึงเป็นตัว รีดิวซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s) -1 ox.no -1 +3 +2 ox.no เพิ่มขึ้น Al จึงเป็นตัว รีดิวซ์
2) เขียนเส้นโยงระหว่างสารที่มีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้นและลดลง อะตอม Cu เท่ากันแล้ว ox.no ที่ลด = 2 Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s) -1 +2 -1 +3 อะตอม Al เท่ากันแล้ว ox.no ที่เพิ่ม = 3
ขั้นที่ 3 หาตัวเลขที่เหมาะสมไปคูณเลขออกซิเดชันที่เพิ่มให้เท่ากับ ขั้นที่ 3 หาตัวเลขที่เหมาะสมไปคูณเลขออกซิเดชันที่เพิ่มให้เท่ากับ เลขออกซิเดชันที่ลดโดยเติมเลข 2 หน้า Al และเติมเลข 3 หน้า Cu ox.no ลดลง = 2 x 3 = 6 2Al(s) + 3CuCl2 (aq) 2AlCl3(aq) + 3Cu(s) -1 +2 -1 +3 ox.no เพิ่มขึ้น = 3 x 2 = 6
สมการที่ดุลตัวรีดิวซ์และออกซิไดส์แล้ว คือ 2Al(s) + 3CuCl2 (aq) 2AlCl3(aq) + 3Cu(s) ขั้นที่ 4 ตรวจสอบความถูกต้อง - จำนวนอะตอมของทุกธาตุทางซ้ายเท่ากับทางขวา - ไม่ต้องตรวจสอบประจุไฟฟ้าเพราะเป็นสมการโมเลกุล