Environmental Monitoring for Pesticide Exposure

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ โรงเรียนอุดมดรุณี จังหวัดสุโขทัย
Advertisements

วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
แนวทางการส่งเสริมความปลอดภัยด้านยาระดับจังหวัด
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
Physiology of Crop Production
Formulation of herbicides Surfactants
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
เรื่อง หน้าที่ของลูกจ้างตามกฎหมาย ความปลอดภัยสารเคมี
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
Concrete Technology 12 Feb 2004
สิ่งแวดล้อมรอบตัว.
การลดปริมาณสารพิษในผักและผลไม้ก่อนส่งเข้าโรงงานอุตสาหกรรม
โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
การกำหนดมาตรฐานอื่นๆ เรื่องโครงสร้างกายภาพ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
วิทยาการระบาดอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
องค์ประกอบต่างๆของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์
Evaluation of pesticides interaction Herbicide-herbicide interaction
สารเมลามีน.
การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
เทคนิคการพ่นสารเคมี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5.
ประเภทของสารเคมีและคุณสมบัติ สารเคมีฆ่าแมลง (Insecticide) คือสารเคมีที่ใช้ในการควบคุมแมลงรวมถึงสารประกอบอื่น ซึ่งสามารถทำลายแมลงได้โดยปกติรู้จักกันในชื่อ.
สารเคมีที่ใช้ในการควบคุม แมลงนำโรค
วัตถุประสงค์การใช้สารเคมีควบคุมแมลงพาหะ
สารเคมีที่ใช้ในการควบคุม แมลงนำโรค
การประชุมกลุ่มย่อย Agriculture Sector. ประเด็นเพื่อระดมสมอง 1. หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง กับการนำ GHS ไปปฏิบัติ กรมวิชาการเกษตร กรมประมง กรมปศุสัตว์
RODENTICIDE Veerakit Techakitiroj M.Sc. in Pharm. (Pharmacology)
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การตอบข้อหารือเกี่ยวกับเคมีภัณฑ์/ผลิตภัณฑ์ที่อาจเป็นสารควบคุมตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีหน้าที่รับผิดชอบ.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
การประเมินความเสี่ยงและการ คุ้มครองผู้บริโภคด้านเครื่องสำอาง โดย เภสัชกรหญิงวีรวรรณ แตงแก้ว ผู้อำนวยการกองควบคุมเครื่องสำอาง.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
ผลิตเป็นเม็ดพลาสติกสี
อุตสาหกรรมผลิต ประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิคส์ - ไฟฟ้า
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
ล้าง 3 ครั้ง ทุกหยดคุ้มค่า รักษาสิ่งแวดล้อม
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
ความเสี่ยงอันตรายจาก
บริการตรวจวิเคราะห์ สารพิษตกค้าง เพื่อสนับสนุนความมั่นใจให้แก่ เกษตรกรเมื่อดำเนินการผลิตตาม คำแนะนำของเจ้าหน้าที่แล้ว ผลผลิต ที่ได้จะไม่มีสารพิษตกค้าง.
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
Globally Harmonized System : GHS
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
บทคัดย่อ ปัญหาที่จะส่งผลกระทบต่องสุขภาพของประชาชนจากแพร่กระจายของเชื้อโรคในน้ำ และมีลักษณะของคลอรีนตกค้างมากเกินไปในเส้นท่อจ่ายน้ำประปา ผู้วิจัยจึงต้องการให้น้ำมีคุณภาพที่ดีขึ้นและเพื่อรักษาแหล่งน้ำไว้
การจัดการอุบัติภัยจากสารเคมี
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
Major General Environmental Problems
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
การเจริญเติบโตของพืช
อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง กำหนดรายละเอียด หลักเกณฑ์ และ วิธีการขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้น.
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง กำหนดค่าเฝ้าระวังสำหรับสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศโดยทั่วไปในเวลา 24 ชั่วโมง ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 มกราคม.
การบริการงานอาชีวเวช ภายนอกโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Environmental Monitoring for Pesticide Exposure ทนงศักดิ์ ยิ่งรัตนสุข M.S., MPH. ภาควิชาสุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความปลอดภัย คณะสาะารรสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

Toxicity v.s. Hazard Toxicity หมายถึง ความสามารถในการก่อให้เกิดอันตราย เมื่อสารเคมีที่ความเข้มข้นเพียงพอ เข้าถึงอวัยวะเป้าหมาย (the capacity of a material to cause harm when it has reached a sufficient concentration at a certain cite in the body) Hazard หมายถึง โอกาสที่ความเข้มข้นที่ว่า จะเกิดขึ้น (probability that this concentration will occur)

ปัจจัยที่ต้องพิจารณาในการประเมินอันตราย ทางเข้าของสารพิษ (Route of entry) ปริมาณสารพิษที่เข้าถึงอวัยวะเป้าหมาย (Target or internal dose) โอกาสที่สารพิษจะถูกดูดซึมเข้าสู่เซลของอวัยวะเป้าหมาย ความเข้มข้นของสารพิษในสิ่งแวดล้อม มาตรการควบคุมที่ใช้ (Control measures in place)

Exposure Assessment Exposure หมายถึง การอยู่ภายใต้สภาวะหรืออิทธิพลของ สิ่งแวดล้อม การประเมินการสัมผัส (Exposure Assessment) หมายถึงการคาดประมาณระดับหรือขนาด (magnitude) ระยะเวลา (duration) ของการ Exposure

EXPOSURE -Inhalation -Ingestion -Skin Absorption EXPOSURE = Concentration X Contact Rate ABSORPTION DISTRIBUTION TRANSFORMATION EXCRETION

Exposure v.s. Dose exposure >> uptake >> distribution, elimination, transformation >> target dose >> physiopathology >> effect

Exposure v.s. Risk Exposure เป็นส่วนประกอบของ Risk Exposure เกิดจากการสัมผัส (contact) กับสารเคมี จากการกิน ทางการหายใจหรือสัมผัสแตะต้องกับผิวหนัง Hazard หมายถึงศักยภาพของสารเคมีในการก่อให้เกิดอันตรายแก่สิ่งมีชีวิต Risk คือ สัดส่วนระหว่าง level of hazard (threshold) กับ level of exposure หรือที่เรียกว่า Margin of Exposure

Pesticides มีหลายประเภท ได้แก่ Insecticides, herbicides, fungicides, termiticides, rodenticides, miticides จำหน่ายในลักษณะ “สูตร” (Formulations) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพความปลอดภัย และ การเก็บรักษา มีทั้งลักษณะเป็นของเหลวหรือ powder spray (emulsion, wettable powders) ผง และเม็ด บางชนิดระเหยเร็ว บางชนิดระเหยช้าๆ

ฉลาก (Label) Brand, trade, product name ส่วนประกอบ (Ingredients) ผู้ผลิต (Manufacturer) Registration Number โรงงานที่ผลิต (Establishment #) Classification : general, restricted use Directions for use Signal word : caution, warning, danger

ฉลาก (Label) 9 ข้อควรระวัง : ทางเข้าสู่ร่างกาย, PPE 10 การปฐมพยาบาล 10 การปฐมพยาบาล 11 อันตรายต่อสิ่งแวดล้อม 12 Re-entry statement 13 การเก็บรักษาและกำจัดภาชนะที่ใช้ หมดแล้ว

Pesticides Exposure Assessment การใช้และการสัมผัสมีหลายลักษณะ : คุณสมบัติทางกายภาพ, ความเข้มข้นที่ใช้, เวลาที่สัมผัส, ใช้หลายชนิดพร้อมกัน อิทธิพลด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ลม, ฝน, แสงแดด ทางเข้าสู่ร่างกายที่สำคัญคือทางผิวหนัง ผู้สัมผัสแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ ผู้ใช้ (mixers/applicators) และ ผู้ทำงานในไร่ (field workers)

Dermal Exposure Monitoring Patch Technique (1950s) Whole Body Dosimeter Hand Rinse and Wash Sampling Gloves Fluorescent Tracers

Relative absorption rates Relative absorption rates, compared to the forearm with an absorption rate of 1.0. Dermal exposure results in absorption immediately after a pesticide contacts skin or eyes. Absorption will continue as long as the pesticide remains in contact with the skin.

Fluorescent Tracers

Applicators

Field Workers

Inhalation Exposure ยาปราบศัตรูพืชมี Vapor Hazard Ratio ต่ำ (<10) Vapor Hazard Ratio = Vapor pressure x 106 / TLV x 760 การใช้มักมีการทำให้ความเข้มข้น เจือจางลงถึง 0.1 - 0.2 % ของสารออกฤทธิ์ (active ingredient) ความเข้มข้นของยาปราบศัตรูพืชในอากาศมักไม่เกินค่า TLV

ขนาดของอนุภาคที่ตกในระบบทางเดินหายใจ 10 um and above 5.8 - 10 4.7 - 5.8 3.3 - 4.7 2.1 - 3.3 1.1 - 2.1 0.43 - 1.1

Air Sampling Method Method Sensitivity : LOD Chemical properties : vapor pressure Physical state : gas, mist, particulate Personal vs. Area Monitoring Sampling Media : sorbents, filters, impingers

Environmental Monitoring ข้อดี ข้อเสีย บอกปริมาณที่สัมผัสจำแนกตามทางเข้าสู่ร่างกาย บอกปริมาณที่สัมผัสจำแนกตามชนิดของกิจกรรมที่ทำ บอกตำแหน่งที่สัมผัสมาก ประเมินประสิทธิภาพของ PPE ไม่รุกล้ำเข้าไปในร่างกาย (non-invasive) สารเคมีที่วัดต้องมีความคงตัวในตัวกลางที่เก็บ ค่อนข้างยุ่งยากในการเก็บตัวอย่าง ต้องมีฐานข้อมูลในการคำนวณค่า

Biological Monitoring ข้อดี ข้อเสีย ปลอดจากการรบกวนของสารอื่น (interference or cross reactivity) เป็นวิธีที่รุกล้ำเข้าไปในร่างกาย ความไม่คงที่ของเมตาบอลิซึมในร่างกาย ต้องอาศัยการวิเคราะห์ที่มี sensitivity สูง ต้องอาศัยฐานข้อมูล dose-metabolism ในการแปรผล บอกปริมาณที่สัมผัสจากทุกทางที่เข้าสู่ร่างกาย บอกปริมาณการสัมผัสที่สะสมในช่วงที่ผ่านมา เป็นการวัด absorbed dose สะดวก