ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 13 ธุรกิจการเกษตร
Advertisements

ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
รหัส หลักการตลาด.
ตลาดน้ำมันโลก: การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC (ต่อ)
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
Product and Price ครั้งที่ 8.
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
การประยุกต์ 1. Utility function
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
กลไกราคากับผู้บริโภค
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
ต้นทุนการผลิต (Cost of Production).
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
บทที่ 11 กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategies)
ตลาดและการแข่งขัน.
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
โรงเรียนอรรถวิทยพณิชยการ บทเรียนออนไลน์
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
ต้นทุนการผลิต.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
ทฤษฎีการผลิต.
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
วิชา หลักการตลาด บทที่ 9 การจัดการโซ่อุปทานและโลจีสติกส์
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )

ผู้ผูกขาดหมายถึง ( Monopolist ) ผู้ผลิตเพียงรายเดียว ในตลาดสินค้าชนิดหนึ่งที่ไม่มีสินค้าชนิดอื่นทดแทนได้อย่าง ใกล้ชิด เนื่องจากเป็นผู้ผลิตเพียงรายเดียวจึงสามารถควบคุม ราคา และปริมาณได้มากกว่าผู้ผลิตที่อยู่ในตลาดแข่งขัน สมบูรณ์

ลักษณะของตลาดผูกขาด มีผู้ขายหรือผู้ผลิตเพียงรายเดียว ไม่มีสินค้าอื่นที่จะมาทดแทนสินค้าสินค้าที่ผูกขาดได้อย่างใกล้ชิด การเข้าสู่ตลาดของผู้ผลิตรายใหม่ถูกปิดกั้นหรือเข้ามาด้วยความ ยากลำบาก ผู้ผลิตแสวงหากำไรสูงสุด ผู้บริโภคแสวงหาความพอใจสูงสุด

สาเหตุของการเกิดตลาดผูกขาด ผู้ผลิตเป็นเจ้าของหรือควบคุมวัตถุดิบในการผลิตสินค้าแต่เพียงผู้ เดียว ธุรกิจเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์หรือได้รับสัมปทานในการผลิตและ จำหน่ายแต่เพียงผู้เดียว มี Economy of scale

ดุลยภาพระยะสั้นในตลาดผูกขาด ผู้ผูกขาดจะต้องเลือกการผลิต ณ ระดับปริมาณและราคาที่ ก่อให้เกิดกำไรสูงสุดถ้าการผลิตนั้นจะได้ภาวะดุลยภาพ ลักษณะเส้นอุปสงค์ มีความยืดหยุ่นน้อย( Inelastic demand ) P = AR อุปสงค์ของหน่วยผลิต เป็นเส้นเดียวกับอุปสงค์ตลาด เนื่องจาก ผู้ผลิตมีเพียงรายเดียว ถ้าลดราคา ผู้ผลิตจะขายได้มากขึ้น

เส้นรายรับเพิ่ม ( Marginal Revenue ) เส้นรายรับเฉลี่ย ( Average Revenue ) เส้นราคา ( Price line ) ( P ) = D = AR MR สองเท่าของ AR

MR =MC หรือผลิตที่ รายรับเพิ่ม = ต้นทุนเพิ่ม หรือ P เท่ากับหรือสูงกว่าต้นทุนผันแปรเฉลี่ย ได้กำไร P น้อยกว่า AC ขาดทุน ขาดทุน ผลิตต่อ ถ้า P มากกว่า AVC ขาดทุนจะไม่ปิดกิจการ ขาดทุน เลิกกิจการ ถ้า P น้อยกว่า AVC

เส้นอุปทานในระยะสั้น ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ จะอยู่เหนือเส้น MC เพราะว่า P = MC ในตลาดผูกขาด เส้นอุปทานไม่สามารถหาได้ เพราะว่า ราคา มากกว่า รายรับเพิ่ม และรายรับเพิ่มเท่ากับ ต้นทุนเพิ่ม และไม่ทราบว่าราคาเพิ่มขึ้นหรือลดลง จะขายได้ มากหรือน้อย จึงไม่สามารถอธิบาย ความสัมพันธ์ระหว่าง P และ Q

การตั้งราคาสินค้าให้แตกต่างกัน ( Price Discrimination ) ผู้ผูกขาดอาจมีการเลือกปฏิบัติต่อผู้ซื้อและตั้งราคาขายให้ แตกต่างกันเพราะว่าตัวเองเป็นผู้ผูกขาด มี 2 แบบ คือ สินค้าชนิดเดียวกันหรือเหมือนกันจะถูกตั้งราคาขายให้แตกต่าง กัน เมื่อขายให้ผู้ซื้อที่มีความแตกต่างกัน ตั้งราคาที่ทำให้สัดส่วนของราคาต่อต้นทุนเพิ่มต่างกันในระหว่าง ผู้ซื้อแต่ละราย P1 / MC1 ไม่เท่ากับ P2 / MC2

การตั้งราคาสินค้าให้แตกต่างกัน จุดประสงค์ของผู้ผลิตก็เพื่อให้ได้รับรายได้มากที่สุด การตั้งราคาสินค้าให้แตกต่างกันลำดับที่ 1 ( First degree price discrimination ) ขายสินค้าให้ลูกค้าแต่ละคนราคาแตกต่างกัน แม้ว่าราคาสินค้า ชนิดเดียวกัน ผู้ขายจะคิดราคาขายสินค้ากับผู้บริโภคแต่ละคนเท่ากับราคา สูงสุดที่ผู้บริโภคยินดีจ่าย เช่นการตั้งราคาของหมอ การตั้งราคาสินค้าให้แตกต่างกันลำดับที่ 2 การตั้งราคาเป็นช่วง ๆ คล้าย ขั้นบันไดเช่นร้านขายเสื้อผ้ามีนโยบายขายเต็มราคาในชิ้นแรก และชิ้นต่อไป ลด 50 % การตั้งราคาสินค้าให้แตกต่างกันลำดับที่ 3 ตั้งราคาขายที่แตกต่างกันกับ กลุ่มผู้บริโภคที่แตกต่างกัน เช่นเก็บค่าชมพิพิธภัณฑ์ คนไทยและต่างชาติคน ละราคา