e-Pedagogy Case-based Learning ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ
Well-structured problem solving Ill-structured problem solving การสอนเพื่อพัฒนาการคิดของผู้เรียน Well-structured problem solving Ill-structured problem solving OELE Open-ended Learning Environments (Land and Hanafin) CLE Constructivism Learning Environments (Jonassen)
Case-based Learning What students do ทำความเข้าใจกับสถานการณ์ วิเคราะห์ปัญหา เสนอทางแก้ปัญหา ตัดสินใจ สะท้อนคิดจากผลของทางเลือก
Case-based Learning What teachers do: เตรียมกรณีศึกษา มุมมองที่หลากหลายต่อปัญหา ทางแก้ปัญหาที่หลากหลาย ทฤษฎี และตัวอย่างจริงที่เกี่ยวข้อง ข้อเสนอแนะต่อวิธีการแก้ปัญหา
ลักษณะของกรณีศึกษา Real world problem solving เชื่อมโยงกับความเป็นจริง มีเทคนิค การเล่าเรื่อง มุมมองที่แตกต่าง ปัญหา ประเด็นขัดแย้ง
ขั้นตอนการสร้างกรณีศึกษา วางแผน ระบุจุดมุ่งหมาย วิเคราะห์ผู้เรียน เลือกสารสนเทศที่จำเป็น ลำดับความคิด ลำดับเหตุการณ์ ฉาก ตัวละคร ประเด็น ปัญหา จุดหักเห ขัอขัดแย้ง ร่างและเรียบเรียง กำกับการเขียนด้วย การตรวจสอบกับจุดมุ่งหมาย พิจารณาข้อมูลประกอบเพิ่มเติม ทบทวนและปรับปรุง Lane (2007) ได้เสนอคำถามหลักไว้ 10 ข้อสำหรับให้ผู้สอน หรือผู้ประเมินกรณีศึกษาได้ตรวจสอบในขั้นการทบทวนดังนี้ 1) กรณีศึกษานี้ทำให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังหรือไม่ 2) มีปัญหา หรือประเด็นที่อยู่ในกรณีศึกษาเพียงพอและเกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังหรือไม่ 3) กรณีศึกษามีความสมบูรณ์ ซับซ้อน และมีจุดรวมความสนใจที่พอเพียงหรือไม่ 4) กรณีศึกษามีการนำเสนอสถานการณ์ ปัญหา หรือประเด็นหรือไม่ 5) กรณีศึกษาที่นำเสนอมีความใกล้เคียงกับความเป็นจริงหรือไม่ 6) มีส่วนประกอบต่างๆ ของสไตล์การเล่าเรื่องนำเสนอไว้ในกรณีศึกษาหรือไม่ เช่น สไตล์การเล่าเรื่อง การพัฒนาของเหตุการณ์ที่เป็นปัญหา การสร้างพล็อตเรื่องที่แสดงให้เห็นมุมมองที่ต่างกัน เป็นต้น 7) เหตุการณ์และการกระทำในกรณีศึกษามีการลำดับอย่างสมควรตามเหตุผลหรือไม่ 8) เหตุการณ์ต่างๆ ที่ปรากฏในกรณีศึกษามีความเชื่อมต่อกับสัญญาณหรือจุดสังเกตของการเปลี่ยนผ่านที่เหมาะสมหรือไม่ 9) เนื้อหาในกรณีศึกษามีความถูกต้อง เกี่ยวข้องและเหมาะสมกับเนื้อหาหลักของการเรียนรู้ใช่หรือไม่ 10) หากมีแหล่งข้อมูลจากภายนอกเพิ่มเติมประกอบในกรณีศึกษา แหล่งข้อมูลภายนอกนั้นเหมาะสมหรือไม่
กระบวนการเรียนรู้ CBL Case problems Multiple Perspectives Theories & Literature Fact Experts’ Solutions Comments on the Results ทำความเข้าใจกับสถานการณ์ วิเคราะห์ปัญหา เสนอทางแก้ปัญหา ตัดสินใจ สะท้อนคิดจากผลของทางเลือก Adapted from Choi & Lee (2009)
ข้อสังเกต ความพร้อมของผู้สอนออนไลน์ ขณะดำเนินกิจกรรมออนไลน์ Social Talk > Academic Talk ทำอย่างไรให้ผู้เรียนมีประสิทธิภาพในการอภิปรายผ่าน การสื่อสารด้วยภาษาเขียนของผู้เรียน Social Talk สร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนออนไลน์
ผู้สอนออนไลน์ ทำหน้าที่ผู้สอนด้วยการปรากฏตัวทางอินเทอร์เน็ต ระบบบริหารจัดการเรียนรู้ เครื่องมือสื่อสาร ดูแล จัดการ และตรวจสอบความเคลื่อนไหว ของห้องเรียนเสมือน Monitoring e-Classroom
ผู้สอนออนไลน์: ระหว่างการเรียน มีความพร้อมด้านเวลา การจัดการต่างๆ ดูแล ตรวจสอบการเข้าห้องเรียนของผู้เรียน แสดงบทบาทของผู้สอนในกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน ใช้ภาษาเขียนเพื่อการสื่อสารอย่างไตร่ตรอง และมีวิจารณญาณ ให้ข้อมูลป้อนกลับทาง การเรียน/ ให้ผู้เรียนรับทราบผลการเรียน
ผู้สอนออนไลน์: การจัดการ การสื่อสารกับผู้เรียน ระหว่างการเรียน ความเข้าใจของผู้เรียน ที่มีต่อการเรียนในห้องเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ผู้สอนต้องทำอะไรบ้างเพื่อเป็นการสนับสนุนให้ผู้เรียนปรับตัวเกี่ยวกับ... การบริหารจัดการเวลา การกำกับตนเอง การสื่อสารผ่านคอมพิวเตอร์ VS การสื่อสารแบบผชิญหน้า
ผู้สอนออนไลน์: การจัดการ การสื่อสารกับผู้เรียน ระหว่างการเรียน ความเข้าใจของผู้เรียน ที่มีต่อการเรียนในห้องเรียนอิเล็กทรอนิกส์ การชี้แจงให้เข้าใจถึงรูปแบบการเรียนที่ผู้สอนวางแผน และออกแบบไว้ เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจบทบาทของตนเอง และปรับตัวได้เร็วกับวิธีการเรียนแบบใหม่ บทบาทของผู้เรียน บทบาทของผู้สอน
ผู้สอนออนไลน์: การสื่อสารกับผู้เรียนระหว่างการเรียน ทักษะการเขียน ปรากฏ ในการสื่อสารอย่างเป็นทางการ เช่น การส่งการบ้าน การทำรายงาน เพื่อการประเมินผล ทักษะการเขียนแบบไม่เป็นทางการ ด้วยการใช้ภาษาพูด เช่น กล่าวทักทาย การแสดงความคิดเห็น การโต้ตอบ การกล่าวหยอกล้อแสดงอารมณ์ขัน ผู้สอนและผู้เรียน: ทักษะการสื่อสาร ในห้องเรียน อิเล็กทรอนิสก์
ผู้สอนออนไลน์: การสื่อสารกับผู้เรียนระหว่างการเรียน ภาษาพูดที่ปรากฏในงานเขียน แสดงความคิด อารมณ์ ความรู้สึก การรับรู้ของผู้อ่านแตกต่างกันตามประสบการณ์ การให้ความหมาย ความรู้สึก ผู้อ่านตีความแตกต่างกัน อาจให้ความหมายได้ว่า... สุภาพ หรือ ก้าวร้าว สุขุม หรือ ใจร้อน มุมมองด้านบวก หรือ ลบ ฯลฯ ผู้สอน และผู้เรียน: ทักษะการสื่อสาร ในห้องเรียน อิเล็กทรอนิสก์
Case-based Learning ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ 25 กันยายน 2553