การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

รายงานการระบาดศัตรูพืช
ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืช โดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคใต้
การวางแผนและการดำเนินงานส่งเสริม
การติดตาม และประเมินโครงการ.
โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิเชียร อารยะสมสกุล
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
3 September องค์กร เกษตรกร การผลิต ปัจจัยพื้นฐา น - ดิน - น้ำ - แรงงาน ปัจจัยการผลิต - พันธุ์ - เทคโนโลยี การใส่ปุ๋ย การป้องกันโรค.
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
สุริชาติ สมวัฒนศักดิ์ นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ ยอดธงไชย รอดแก้ว
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
ขั้นตอนการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์ม่า ในข้าวสุก
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
การดำเนินงานการบริหารศัตรูพืช
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ครั้งที่ 1 วันที่ กุมภาพันธ์ 2556
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
เท่าเดิม ลดลง เพิ่มขึ้น เท่าเดิม ลดลง การเพิ่ม-ลดของสมาชิกกลุ่ม
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)
โครงการบริหารการจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร.
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ฝึกอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน ปี 51
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
1. สัมมนาวางแผนปฏิบัติงานโครงการ และชี้แจงระเบียบการเงิน การบัญชี ตามระเบียบเงินรายได้ จากการรับจ้างผลิต และ จำหน่ายปัจจัยการเกษตรของศูนย์ ปฏิบัติการ.
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช

การจัดทำแปลงเรียนรู้เน้นหนักการใช้ชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช เป้าหมาย ดำเนินการ 134 จุดทั่วประเทศ ดังตาราง ศูนย์บริหารศัตรูพืช จำนวนแปลงนำร่อง ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น 20 ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดสงขลา 10 ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดพิษณุโลก 18 ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดเชียงใหม่ 16 ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดนครราชสีมา ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชัยนาท ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดสุพรรณบุรี ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดสุราษฏร์ธานี 9 ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชลบุรี

ขั้นตอนการดำเนินงาน - จังหวัดคัดเลือกจุดดำเนินการตามเป้าหมายที่ได้รับ จัดส่งให้ศูนย์ บริหารศัตรูพืช เลือกแปลงใกล้เคียงกับแปลงพยากรณ์ - ศูนย์ ฯ ประสานจังหวัด(ผู้รับผิดชอบปศ.) และวางแผนการจัดทำ แปลงเรียนรู้ ฯ - ดำเนินการตามแผน - รายงานผลการดำเนินงานตามแบบ ก1/1

2. สนับสนุนชีวภัณฑ์ในกิจกรรมถ่ายทอดเทคโนโลยีตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร เป้าหมาย 14,829 จุดดำเนินการ ขั้นตอนการดำเนินงาน - ผลจากการติดตามสถานการณ์ของแปลงเรียนรู้ มีแนวโน้มที่จะเกิดการระบาดของศัตรูพืชและเกษตรกรพิจารณาความต้องการใช้ชีวภัณฑ์แจ้งศูนย์บริหารศัตรูพืช (ผ่านจังหวัด )ทราบ - ศบพ.ให้การสนับสนุนปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืชเพื่อใช้ในการถ่ายทอดให้เกษตรกรสมาชิกได้รู้จักและตัดสินใจใช้

1) การคัดเลือกกลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 3. สนับสนุนเกษตรกรผลิตขยายปัจจัยชีวภัณฑ์ใช้เองในพื้นที่ เป้าหมาย 30 กลุ่มเกษตรกร เงื่อนไข 1) การคัดเลือกกลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ - พื้นที่ปลูกพืชของสมาชิกหรือเกษตรกรใกล้เคียงมีปัญหาศัตรูพืชระบาดและสามารถควบคุมได้ด้วยชีวภาพ - เกษตรกรมีความสนใจที่จะรวมกลุ่มกันผลิตขยาย - มีการจัดการบริหารจัดการที่เป็นระบบ และมีความต่อเนื่องในการวางแผนการผลิตขยาย

ชนิดศัตรูธรรมชาติ ชนิดศัตรูพืช 2) ชนิดศัตรูธรรมชาติที่เกษตรกรสามารถผลิตได้และชนิดศัตรูพืช ที่เข้าทำลาย ชนิดศัตรูธรรมชาติ ชนิดศัตรูพืช เชื้อราไตรโครเดอร์มา เชื้อราสาเหตุโรคพืชทางดิน เชื้อราบริววาเรีย แมลงปากดูด เช่น เพลี้ย แมลงหางหนีบ แมลงทั่วไปที่มีขนาดเล็ก เชื้อไวรัส เอ็น พี วี หนอนกระทู้หอม หนอนกระทู้ผัก และหนอนเจาะสมอฝ้าย หมายเหตุ ชนิดศัตรูธรรมชาติที่เลือกผลิตไม่ขึ้นกับชนิดพืช ขึ้นกับชนิด ศัตรูพืชที่ต้องการควบคุม

- การฝึกอบรมการผลิต การใช้ประโยชน์จาก ชีวภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ 3) กลุ่มเกษตรกรได้อะไรจากการเข้าร่วมกิจกรรม - การฝึกอบรมการผลิต การใช้ประโยชน์จาก ชีวภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ - หัวเชื้อจุลินทรีย์ หรือพ่อแม่พันธุ์ศัตรูธรรมชาติ ที่ต้องการ - วัสดุที่จำเป็นบางรายการ

ขั้นตอนการดำเนินงาน จังหวัดคัดเลือกกลุ่มเกษตรกรที่ต้องการเข้าร่วมกิจกรรม ตามเงื่อนไขข้างต้น แจ้งศูนย์บริหารศัตรูพืช ศูนย์บริหารศัตรูพืช รวบรวมวิเคราะห์และเรียงลำดับ ความจำเป็นในการให้การสนับสนุน แจ้งให้ส่วนบริหารศัตรูพืชโอนจัดสรร งปม.

ส่วนบริหารศัตรูพืชพิจารณาโอนจัดสรร งปม. ให้ศูนย์ฯดำเนินการ ศูนย์บริหารศัตรูพืชประสานจังหวัดและกลุ่มเกษตรกร (จุดดำเนินการ)วางแผนการให้ความรู้และสนับสนุนการ ผลิตขยาย ** ศูนย์บริหารศัตรูพืชร่วมกับจังหวัดติดตามผลการ ดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกร